โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟูลเลอรีนและสะเก็ดดาว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟูลเลอรีนและสะเก็ดดาว

ฟูลเลอรีน vs. สะเก็ดดาว

ฟลูเรอรีน รูปทรงสามเหลี่ยมด้านเท่า ยี่สิบหน้า (icosahedron) C540 ฟูลเลอรีน (Fullerene) เป็นอัญรูปหนึ่งของคาร์บอนที่เพิ่งค้นพบ โดยตั้งชื่อตาม บักมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ (Buckminster Fuller) ฟูลเลอรีนประกอบด้วยโมเลกุลของธาตุคาร์บอนทั้งหมด โดยมีรูปทรงเป็นทรงกลมกลวง ทรงรี หรือ ท่อ ฟูลเลอรีนทรงกลมนั้นบางครั้งก็เรียกว่า "บักกีบอล" (buckyballs) รูปC60 นั้นมักจะถูกเปรียบเทียบกับลูกฟุตบอลสีขาวดำ สำหรับฟูลเลอรีนทรงกระบอกนั้น เรียกว่า "บักกี้ทูบ" หรือ "คาร์บอนนาโนทูบ ฟูลเลอรีนนั้นมีโครงสร้างคล้ายกับแกรไฟต์ ซึ่งประกอบด้วยแผ่นวงแหวนหกเหลี่ยม แต่มีวงแหวนห้าเหลี่ยม (หรือบางครั้งก็เป็นวงแหวนเจ็ดเหลี่ยม) ซึ่งกั้นมิให้แผ่นวงแหวนนั้นกลายเป็นแผ่นเรี. ก็ดดาว (meteoroid) คือ เศษวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ มีขนาดตั้งแต่ก้อนหินขนาดใหญ่ลงไปถึงผงฝุ่น เมื่อสะเก็ดดาวเคลื่อนที่เข้าสู่บรรยากาศของโลก (หรือของดาวเคราะห์อื่น) ทำให้เกิดความร้อนและแสงสว่างมองเห็นเป็นดาวตก คนทั่วไปมักเข้าใจว่าแสงสว่างนี้เกิดจากความเสียดทานระหว่างสะเก็ดดาวกับบรรยากาศ แต่ในความเป็นจริง กระบวนการหลักของการเกิดดาวตก คือ การแตกตัวเป็นไอออน (ionization) ของอนุภาคในบรรยากาศ หากสะเก็ดดาวมีขนาดใหญ่ วัตถุที่ตกลงถึงพื้นดิน เรียกว่า อุกกาบาต (meteorite) สะเก็ดดาวที่ลุกไหม้จนหมดในชั้นบรรยากาศของโลกเรียกว่า ดาวตก หรือ ผีพุ่งไต้ (meteor) ดาวตกที่สว่างมาก ๆ คือสว่างกว่าดาวศุกร์ อาจเรียกว่าลูกไฟ (fireball) สะเก็ดดาวจำนวนมากเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในฝนดาวตก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟูลเลอรีนและสะเก็ดดาว

ฟูลเลอรีนและสะเก็ดดาว มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟูลเลอรีนและสะเก็ดดาว

ฟูลเลอรีน มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ สะเก็ดดาว มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (12 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟูลเลอรีนและสะเก็ดดาว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »