โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดาราจักรวิทยุและดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดาราจักรวิทยุและดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ

ดาราจักรวิทยุ vs. ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ

ราจักรวิทยุ (Radio galaxy) รวมถึงสิ่งอื่นที่สัมพันธ์กัน เช่น เควซาร์วิทยุ และ เบลซาร์ เป็นดาราจักรกัมมันต์ประเภทหนึ่งที่ส่องสว่างมากในช่วงความยาวคลื่นของคลื่นวิทยุ (สูงถึง 1039 W ระหว่าง 10 MHz and 100 GHz) การแผ่รังสีคลื่นวิทยุเกิดจากกระบวนการซิงโครตรอน โครงสร้างของรังสีคลื่นวิทยุที่สังเกตได้มีลักษณะเป็นปฏิกิริยาระหว่างลำแสงคู่แฝดกับตัวกลางภายนอก ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากผลของลำอนุภาคที่เกี่ยวข้อง ดาราจักรวิทยุต้นกำเนิดส่วนมากจะเป็นดาราจักรชนิดรีขนาดใหญ่ สิ่งที่น่าสนใจสำหรับดาราจักรกัมมันต์ต้นกำเนิดคลื่นวิทยุมิใช่เพียงลักษณะของตัวมันเอง แต่เพราะมันถูกตรวจพบอยู่ในระยะที่ไกลมากๆ แสดงว่ามันมีอายุอยู่ในช่วงแรกเริ่มของการกำเนิดเอกภพ จึงเป็นเครื่องมือที่มีคุณค่าอย่างสูงต่อการศึกษาจักรวาลวิท. ราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ (Extragalactic astronomy) คือสาขาวิชาหนึ่งของการศึกษาดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับวัตถุอันอยู่พ้นไปจากดาราจักรทางช้างเผือกของเรา (หรืออาจกล่าวว่า เป็นการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ทุกชนิดที่มิได้อยู่ในขอบเขตของดาราศาสตร์ดาราจักร) ผลจากการที่เครื่องมือวัดและตรวจจับต่างๆ มีการพัฒนามากขึ้น ทำให้เราสามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่ในห้วงอวกาศอันไกลมากๆ ได้ และยังสามารถคำนวณระยะห่างได้ด้วย การศึกษาในศาสตร์นี้จึงอาจแบ่งได้เป็น ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบใกล้ (Near-Extragalactic Astronomy) และดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบไกล (Far-Extragalactic Astronomy) กลุ่มของดาราจักรนอกระบบใกล้คือการศึกษาดาราจักรต่างๆ ที่อยู่ในกลุ่มท้องถิ่น ซึ่งอยู่ใกล้พอจะทำการวิเคราะห์องค์ประกอบอย่างละเอียดได้ (เช่น ซากซูเปอร์โนวา กลุ่มดาว) ส่วนดาราจักรนอกระบบไกลจะสามารถศึกษาได้แต่ปรากฏการณ์ที่สว่างมากๆ จนเป็นที่สังเกตเห็น หัวข้อการศึกษาบางส่วนได้แก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาราจักรวิทยุและดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ

ดาราจักรวิทยุและดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): เควซาร์

เควซาร์

วาดเควซาร์ส่องสว่างในจินตนาการของศิลปิน เควซาร์ หรือ เควเซอร์ (quasar; IPA: /ˈkweɪzɑr/) เป็นคำย่อของคำว่า Quasistellar Radio Sources หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แหล่งกำเนิดของคลื่นวิทยุคล้ายกับดวงดาว ถูกค้นพบเมื่อทศวรรษที่ 1960 ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ เริ่มแรกเควซาร์ไม่มีหลักฐานระบุแน่นอนว่าคืออะไร แต่จากที่นักดาราศาสตร์ได้สำรวจและค้นพบ เควซาร์คือวัตถุที่มีแสงสว่างเจิดจ้าเป็นอย่างมาก อยู่ห่างไกลจากโลกด้วยระยะทาง 100,000,000 ปีแสง หรือมีระยะทางมากกว่า 9.46052841x1023 กิโลเมตร เคลื่อนที่ในอวกาศด้วยความเร็วสูงประมาณ 177,000 ไมล์ต่อวินาที ซึ่งเป็นความเร็วเกือบเท่ากับแสง เควซาร์อยู่ห่างไกลจากโลกเป็นอย่างมาก จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นวัตถุที่ก่อกำเนิดขึ้นในห้วงอวกาศ ในยุคของการเริ่มแรกแห่งยุคประวัติศาสตร์ของเอกภพ ซึ่งแสงเจิดจ้าที่ได้รับจากเควซาร์นี้ ได้เดินทางมาในห้วงอวกาศด้วยระยะเวลาหลายสิบล้านปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก เควซาร์อาจจะเดินทางในห้วงอวกาศมายาวนานก่อนที่โลกจะถือกำเนิดขึ้น และจากการศึกษาล่าสุดของนักดาราศาสตร์ได้ระบุว่า เควซาร์คือวัตถุมวลขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายกับดาวฤกษ์ คือมีแสงสว่างในตัวเอง แต่เควซาร์แตกต่างจากดาวฤกษ์ตรงที่มีแสงสว่างมากกว่าถึง 1,000 เท่า และไม่สามารถระบุตำแหน่งในห้วงอวกาศได้อย่างแน่นอน เควซาร์อาจจะมีขนาดใหญ่โตมโหฬารใกล้เคียงกับระบบสุริยะของโลกหรือใหญกว่าเป็นหลายร้อยเท่า และหมุนด้วยความเร็วราว 153,000 ไมล์/วินาที (250,000 กิโลเมตร/วินาที) เควซาร์ อาจจะเป็นแกนของดาราจักรใหม่ที่กำลังก่อตัวอยู่ หรืออาจจะเป็นศูนย์กลางของหลุมดำก็ได้.

ดาราจักรวิทยุและเควซาร์ · ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบและเควซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดาราจักรวิทยุและดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ

ดาราจักรวิทยุ มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.17% = 1 / (11 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดาราจักรวิทยุและดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »