โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดาบมังกรหยกและสำนักบู๊ตึ๊ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดาบมังกรหยกและสำนักบู๊ตึ๊ง

ดาบมังกรหยก vs. สำนักบู๊ตึ๊ง

มังกรหยก (หรือ มังกรหยกภาค 3 หรือ กระบี่อิงฟ้า ดาบฆ่ามังกร) เป็นนิยายกำลังภายในภาคต่อของ มังกรหยก แต่งโดยกิมย้ง (ชื่อในภาษาจีน อักษรจีนตัวเต็ม: 倚天屠龍記; อักษรจีนตัวย่อ: 倚天屠龙记; พินอิน: yǐ tiān tú lóng jì) และชื่อในภาษาอังกฤษ คือ The Heavenly Sword and the Dragon Saber หรือ The Heaven Sword and Dragon Saber). ำนักบู๊ตึ๊ง เป็นสำนักวิชากำลังภายในที่มีชื่อเสียงในนิยายกำลังภายในหลายเรื่อง โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาบมังกรหยกและสำนักบู๊ตึ๊ง

ดาบมังกรหยกและสำนักบู๊ตึ๊ง มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กิมย้งศาสนามาณีกีจาง ซันเฟิงดาบมังกรหยกง้อไบ๊

กิมย้ง

thumb กิมย้ง หรือชื่อจริง จา เลี้ยงย้ง (Louis Cha Leung-yung) เป็นนักเขียนนิยายกำลังภายในที่ได้รับความนิยมมาก มักเขียนนิยายโดยแฝงเนื้อหาทางการเมืองบางอย่างไว้ โดยเฉพาะการวิจารณ์ระบบกษัตริย์ พรรคคอมมิวนิสต์ และลัทธิเชื้อชาติฮั่นเป็นใหญ่ กิมย้งมีหนังสือพิมพ์เป็นของตัวเอง ชื่อ หมิงเป้า (明報) ปัจจุบัน กิมย้ง ยังมีชีวิตอยู่ และดูแลกิจการหนังสือพิม.

กิมย้งและดาบมังกรหยก · กิมย้งและสำนักบู๊ตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนามาณีกี

นามาณีกี หรือ ศาสนามานี หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) เป็นศาสนาแบบ เอกเทวนิยม และไญยนิยม (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดในจักรวรรดิแซสซานิด มีพระมานีหัยยา (मानी हय्या) เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ศาสนามานี เป็นสาขาหนึ่งของ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ เป็นต้นกำเนิดของ ลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และ ลัทธิอนุตตรธรรม สอนเชิงจักรวาลวิทยาว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้านความดีงาม จิตวิญญาณ และความสว่าง กับความชั่วร้าย วัตถุ และความมืด สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมในเมโสโปเตเมีย ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้ภาษาแอราเมอิกและภาษาซีรีแอก ราว คริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึงประเทศจีน และทางตะวันตกไกลถึงจักรวรรดิโรมัน โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของศาสนาคริสต์ แทนลัทธิเพกันที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่า ชาวมานี หรือ มานีเชียน ซึ่งในปัจจุบันใช้หมายรวมถึง ผู้มีแนวคิดทางจริยศาสตร์รูปแบบหนึ่งที่มองศีลธรรมแบบทวินิยม คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน.

ดาบมังกรหยกและศาสนามาณีกี · ศาสนามาณีกีและสำนักบู๊ตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

จาง ซันเฟิง

รูปปั้นทองแดงของจาง ซันเฟิง บนเขาบู๊ตึ๊งในปัจจุบัน จาง ซันเฟิง (สำเนียงจีนกลาง) หรือ เตียซำฮง (สำเนียงแต้จิ๋ว) เป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์จีน มักกล่าวถึงในภาพยนตร์หรือนิยายกำลังภายใน ที่มีชื่อเสียง เช่น เรื่อง ดาบมังกรหยก ซึ่งเขียนโดยกิมย้ง หรือจินหยง ยอดนักเขียนนวนิยายกำลังภายในชาวจีนนั่นเอง เชื่อกันว่าจาง ซันเฟิง เกิดเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1247 ในสมัยปลายราชวงศ์ซ้อง (ค.ศ. 960-ค.ศ. 1279) ที่มณฑลเหลียวหนิง มีชื่อเดิมว่า จาง เฉวียนอี หรือ จาง จวินอี้ว์ โดยที่ชื่อ ซันเฟิง นั้นเป็นฉายาที่เป็นนักบวชในลัทธิเต๋าแล้ว มีชื่อเสียงสมัยราชวงศ์หยวน (ค.ศ. 1279-ค.ศ. 1368) เริ่มเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวบ้านสามัญชน จากการใช้กำลังภายใน การช่วยเหลือคนเจ็บไข้ แล้วมีอายุยืนยาวมาจนถึงราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-ค.ศ. 1654)และค่อย ๆ หายหน้าไปจากหน้าประวัติศาสตร์จีนหลังปี ค.ศ. 1459 ท่านใช้ชีวิตมากว่า 200 ปี และไม่มีประวัติการเสียชีวิต หลายคนเชื่อกันว่าหลังจากนั้นเชื่อว่าสำเร็จเป็นเซียนอมตะ มีประวัติของจาง ซันเฟิงในหน้าประวัติศาสตร์มากมาย แต่ที่มีชื่อเสียงคือ การก่อตั้งสำนักอู่ตัง หรือบู๊ตึ๊ง ในสำเนียงแต้จิ๋ว และการค้นคิดวิชามวย ไท่เก๊ก.

จาง ซันเฟิงและดาบมังกรหยก · จาง ซันเฟิงและสำนักบู๊ตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

ดาบมังกรหยก

มังกรหยก (หรือ มังกรหยกภาค 3 หรือ กระบี่อิงฟ้า ดาบฆ่ามังกร) เป็นนิยายกำลังภายในภาคต่อของ มังกรหยก แต่งโดยกิมย้ง (ชื่อในภาษาจีน อักษรจีนตัวเต็ม: 倚天屠龍記; อักษรจีนตัวย่อ: 倚天屠龙记; พินอิน: yǐ tiān tú lóng jì) และชื่อในภาษาอังกฤษ คือ The Heavenly Sword and the Dragon Saber หรือ The Heaven Sword and Dragon Saber).

ดาบมังกรหยกและดาบมังกรหยก · ดาบมังกรหยกและสำนักบู๊ตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

ง้อไบ๊

ง้อไบ๊ หรือ เอ๋อเหมย อาจหมายถึง.

ง้อไบ๊และดาบมังกรหยก · ง้อไบ๊และสำนักบู๊ตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดาบมังกรหยกและสำนักบู๊ตึ๊ง

ดาบมังกรหยก มี 47 ความสัมพันธ์ขณะที่ สำนักบู๊ตึ๊ง มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 8.93% = 5 / (47 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดาบมังกรหยกและสำนักบู๊ตึ๊ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »