โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดั๊บ (แนวดนตรี)และนิวเวฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดั๊บ (แนวดนตรี)และนิวเวฟ

ดั๊บ (แนวดนตรี) vs. นิวเวฟ

นตรีดั๊บ (dub music) เป็นแนวเพลงที่แยกออกจากเร้กเก้ในทศวรรษที่ 1960 และถูกจัดเป็นแนวเพลงย่อย แม้ว่าจะได้มีการพัฒนาจนต่างไกลจากดนตรีเร้กเก้ ส่วนใหญ่เพลงในแนวดนตรีนี้ประกอบด้วยเพลงบรรเลงที่ถูกริมิกซ์ให้ยาวขึ้นในการบันทึกเสียง ซึ่งมีความสำคัญในการจัดการ การก่อร่างบันทึกเสียง ปกติจะการเอาเสียงร้องที่มีอยู่ออกจากชิ้นงานเพลงและเน้นส่วนกลองและเบส และเทคนิคอื่น ๆ ได้แก่การเพิ่มเสียงไดนามิก และเอฟเฟกต์อื่น ๆ เช่น เอ็กโค รีเวิร์บ พาโนรามิกดีเลย์ (การใช้ดีเลย์ในระหว่างสองช่องเสียง) มีการนำเสียงร้องหรือเพลงบรรเลงเวอร์ชันเก่าและงานเพลงอื่นบางส่วนมาอัดเสียงทับใหม่เป็นบางครั้ง. บลอนดี (Blondie) ในปี ค.ศ. 1976 จากซ้ายไปขวา: แกรี วาเลนไทน์, เคล็ม เบิร์ก, เดโบราห์ แฮร์รี, คริส สไตน์ และ จิมมี เดสทรี นิวเวฟ เป็นแนวเพลงป็อปร็อกที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 และกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ที่ผูกพันกับพังก์ร็อก โดยทั่วไปคำนี้มีความหมายเดียวกับพังก์ร็อก ก่อนที่จะรวมกับอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีทดลอง ม็อด ดิสโก้ และป็อป ต่อมานิวเวฟได้มีแนวเพลงย่อยได้แก่ นิวโรแมนติกและกอทิกร็อก ในฐานะที่เป็นแนวเพลงที่ได้รวมเอามากจากเสียงของพังก์ร็อกที่เป็นต้นฉบับ และอุปนิสัยของชนกลุ่มน้อย เช่นเน้นเพลงในเวลาสั้นและเราะรานReynolds, Simon "Rip It Up and Start Again PostPunk 1978–1984" p160แต่มันเป็นลักษณะซับซ้อนมากขึ้นในเพลงและเนื้อเพลงทั้ง ลักษณะทั่วไปของดนตรีนิวเวฟ นอกเหนือจากอิทธิพลของพังก์รวมถึงการใช้เครื่องสังเคราะห์เสียง และการผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการจัดแต่งทรงผมและศิลปะหลากหลายขึ้น ในฐานะที่คำว่านิวเวฟมักจะใช้เพื่ออธิบายเพลงซึ่งเป็นที่เล่นโวหารและพิสดาร ลวงและปรากฏที่หัวใจ ผสมผสานในการติดท่อนแบบไพเราะชัดเจน ในลักษณะรูปแบบของแนวเพลงนี้แตกต่างกันอย่างมากตั้งแต่ปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดั๊บ (แนวดนตรี)และนิวเวฟ

ดั๊บ (แนวดนตรี)และนิวเวฟ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กีตาร์กีตาร์เบสสกา (แนวดนตรี)ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เร็กเก

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

กีตาร์และดั๊บ (แนวดนตรี) · กีตาร์และนิวเวฟ · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์เบส

ป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้ง electric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสียงต่ำ มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่น ๆ ในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อประวัติ) เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสำหรับนักดนตรีบางคนว่า เบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี 4 สาย 5 สาย และ 6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่ำ-สูง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่าง ๆ จำนวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็นต้น.

กีตาร์เบสและดั๊บ (แนวดนตรี) · กีตาร์เบสและนิวเวฟ · ดูเพิ่มเติม »

สกา (แนวดนตรี)

กา เป็นแนวเพลงที่เกิดในประเทศจาไมก้า ช่วงปลายทศวรรษที่ 50 ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็น rocksteady และ เร้กเก้ เพลงสกา เป็นการรวมองค์ประกอบเพลงแถบคาริบเบียนอย่าง เม็นโต และ คาลิปโซ เข้ากับ แจ๊ซทางฝั่งอเมริกา กับอาร์แอนด์บี มีลักษณะพิเศษตรงไลน์เบส สำเนียงกีตาร์ และจังหวะเปียโนที่ดูแตกต่างไป สิ่งที่โดดเด่นอีกอย่างคือมีการใช้เครื่องเป่า (อย่างแจ๊ส) เช่น แซกโซโฟน, ทรัมเป็ต, ทรอมโบน เป็นต้น และทศวรรษที่ 60 สกาถูกหมายถึงแนวดนตรีของ Rudeboy ในสหราชอาณาจักร สกาได้รับความนิยมในกลุ่ม ม็อดและพวกสกินเฮด มีวงอย่าง Symarip, Laurel Aitken, Desmond Dekker, และ The Pioneers เป็นต้น.

ดั๊บ (แนวดนตรี)และสกา (แนวดนตรี) · นิวเวฟและสกา (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์

นตรีอิเล็กทรอนิกส์ (electronic music) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสามารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้า"The stuff of electronic music is electrically produced or modified sounds.

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และดั๊บ (แนวดนตรี) · ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และนิวเวฟ · ดูเพิ่มเติม »

เร็กเก

Bob Marley ศิลปินเร็กเกที่มีชื่อเสียง เร็กเก (reggae) เป็นแนวดนตรีแอฟริกา-แคริบเบียนซึ่งพัฒนาขึ้นบนเกาะจาเมกา และมีความชิดใกล้เชื่อมต่อกับลัทธิรัสตาฟาเรียน (Rastafarianism) รากดั้งเดิมของเร็กเกสามารถค้นหาได้จากดนตรีประเพณีนิยมของแอฟริกา-แคริบเบียนที่มีพอ ๆ กับดนตรีริธึ่มแอนด์บลูส์ของอเมริกัน เร็กเก้ เป็นดนตรีที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะที่เดียวในโลกของประเทศจาเมกา ซึ่งอิทธิพลทางดนตรีมาจากนิวออร์ลีนส์ ริธึ่มแอนด์บลูส์ มาจากการฟังวิทยุทรานซิสเตอร์ที่รับคลื่นสั้นจากสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รากเหง้าของดนตรีคนแอฟริกา-แคริบเบียน คือเพลงโฟล์กของจาเมกาที่เรียกว่า เมนโต (Mento) มีท่วงทำนองเพลงไปในทางแนวดนตรีคาลิปโซ เนื้อหาของบทเพลงจะพูดถึงการเรียกร้องสิทธิของตัวเองและปัญหาความยากจนต่อประเทศเจ้าอาณานิคมในหมู่เกาะอินดีสตะวันตกในทะเลแคริบเบียน สำหรับจาเมกาตกอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ พลเมืองตกเป็นทาสของคนผิวขาว ก็มีการพัฒนาดนตรีเมนโตนำมาผสมกับอาร์แอนด์บีทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา พัฒนาเปลี่ยนแปลงจังหวะเพิ่มขึ้นจนกลายเป็นดนตรีสกา (Ska) โดยเปลี่ยนแปลงจังหวะให้เพิ่มขึ้น กีตาร์เล่นจังหวะยก และมีการเล่นลัดจังหวะ ถือว่าเป็นการแปลความหมายของดนตรีอาร์แอนด์บีอีกรูปแบบหนึ่ง และเป็นที่นิยมกันอย่างมากในช่วงต้นยุคทศวรรษที่ 60 และได้มีการพัฒนาขึ้นอีกขั้น บีทของดนตรีจึงถูกดึงให้ช้าลงใช้เปียโนและเบสที่มีอิทธิพลดนตรีร็อกเข้ามาจึงเรียกว่า ร็อกสเตดี้ (Rocksteady) จนมาถึงปี 1968 ก็ได้มีการพัฒนาจนถึงขีดสุด ดนตรีเร็กเก้จึงถือกำเนิดขึ้น ภายใต้แนวความคิดของลัทธิรัสตาฟาเรียน ทรงผมฟั่นเชือกหรือเดรด ล็อก และอุดมคติทางการเมืองและสังคม ในการพาชาวแอฟริกา-แคริบเบียน กลับสู่แผ่นดินในทวีปแอฟริกา สกา (Ska) และร็อกสเตดี (Rocksteady) คือพื้นฐานทางแนวดนตรีผู้มาก่อนเร็กเก้ในยุคทศวรรษที่ 60 ก่อนที่ บ็อบ มาร์เลย์ จะทำให้ดนตรีเร็กเก้เป็นที่นิยมไปทั่วโลก ก็เคยบันทึกเสียงในแนวดนตรีร็อกสเตดี้ในช่วงแรกในอาชีพของเขา สไตล์ดนตรีเร็กเก้ที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากเรียกกันว่า รูทส์ เร็กเก้ (roots reggae) หรือ รูทส์ ร็อก เร็กเก้ (roots rock reggae) และใช้กับศิลปินอีกมากมายที่ทำงานในแบบเดียวกันอย่าง Black Uhuru, Burning Spear, Culture, Israel Vibrations, The Skatalites and Toots และ The Maytals ซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมาถึงวง UB40 ในสหราชอาณาจักร ในจาเมกานั้น ดนตรีแนวใหม่ได้ทวีความนิยมมากว่า โดยมีการพัฒนาไปสู่แนวเลิฟเวอร์ส ร็อก (Lovers Rock), แดนซ์ฮอลล์ (Dancehall) และแร็กกามัฟฟิน (Raggamuffin).

ดั๊บ (แนวดนตรี)และเร็กเก · นิวเวฟและเร็กเก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดั๊บ (แนวดนตรี)และนิวเวฟ

ดั๊บ (แนวดนตรี) มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ นิวเวฟ มี 30 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 12.20% = 5 / (11 + 30)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดั๊บ (แนวดนตรี)และนิวเวฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »