โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดันเต อาลีกีเอรีและแดนชำระ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดันเต อาลีกีเอรีและแดนชำระ

ดันเต อาลีกีเอรี vs. แดนชำระ

ูรันเต เดกลี อาลีกีเอรี หรือดันเต อาลีกีเอรี หรือเรียกสั้น ๆ ว่าดันเต (Durante degli Alighieri; Dante Alighieri) (ราวกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1265 - 14 กันยายน ค.ศ. 1321) ดันเต อาลีกีเอรีเป็นรัฐบุรุษ กวี และนักภาษาศาสตร์คนสำคัญของฟลอเรนซ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 ในยุคกลาง งานชิ้นที่สำคัญที่สุดคือ “ดีวีนากอมเมเดีย” (Divina Commedia) ที่เดิมชื่อ “Commedia” แต่ต่อมาเรียก “Divina” โดยโจวันนี บอกกัชโช และในที่สุดก็กลายเป็น “Divina Commedia” ซึ่งถือว่าเป็นกวีนิพนธ์ชิ้นเอกของภาษาอิตาลีและของโลก ดันเตได้รับการขนานนามในอิตาลีว่า “il Sommo Poeta” หรือ “มหากวี” และได้ชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งภาษาอิตาลี” ดานเต เปตราก และโจวันนี บอกกัชโช รู้จักรวมกันว่า “สามมงกุฏ” (the three fountains หรือ the three crowns) บอกกัชโชเป็นคนแรกที่เขียนชีวประวัติของดันเตใน “ศาสตรนิพนธ์ในการสรรเสริญดันเต” (Trattatello in laude di Dante). แดนชำระ (Purgatory) หรือไฟชำระ คือ สภาวะหรือขั้นตอนที่วิญญาณได้รับการชำระให้บริสุทธิ์หรือการลงโทษชั่วคราว เป็นที่เชื่อกันว่าดวงวิญญาณที่ตายขณะได้รับการปลดปล่อยจะได้ไปสวรรค์ นี่เป็นความคิดเชิงทฤษฎีที่มีพื้นฐานและได้รับการยอมรับในศาสนาคริสต์ยุคแรก ในขณะที่ในแนวคิดเชิงวรรณกรรม แดนชำระคือสถานที่ทางภูมิศาสตร์ขนาดใหญ่ในความเชื่อและจินตนาการของคริสตชนสมัยกลาง แนวคิดเกี่ยวกับแดนชำระเชื่อมโยงกับคริสตจักรละตินในนิกายโรมันคาทอลิก (เป็นปรัชญาหลักในคริสตจักรที่บรรลุนิติภาวะแล้วหรือในทางพิธีกรรม ถึงแม้บ่อยครั้งจะไม่ได้ใช้ชื่อว่า "แดนชำระ" ก็ตาม) ชาวแองกลิคันแห่งแองโกลคาทอลิกมักถือตามนี้ จอห์น เวสลีย์ ผู้ก่อตั้งคณะเมทอดิสต์ เชื่อในสถานะกลางระหว่างความตายกับการพิพากษาครั้งสุดท้ายและเชื่อว่าเป็นไปได้ที่จะมี "การเติบโตอย่างต่อเนื่องของพระคุณ" ณ ที่แห่งนั้น คริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์เชื่อในความเป็นไปได้ที่จะเกิดการแลกเปลี่ยนสภาวะของดวงวิญญาณผู้ที่ตายไปแล้วผ่านทางผู้อธิษฐานและการสวดอ้อนวอนอันศักดิ์สิทธิ์ และชาวออร์โธด็อกซ์จำนวนมากโดยเฉพาะผู้บำเพ็ญตน หวังและภาวนาเพื่อฟื้นคืนความสัมพันธ์กับพระเจ้า อีกความเชื่อที่คล้ายกันคือเชื่อในโอกาสรอดครั้งสุดท้ายโดยชาวมอร์มอน ชาวยิวยังเชื่ออีกว่าเป็นไปได้ที่จะมีการชำระล้างหลังความตาย และยังใช้คำว่า "แดนชำระ" เพื่อสร้างความเข้าใจความหมายของคำว่า เกเฮนนา (ปลายทางของคนชั่วช้า-ในความหมายของชาวยิวและคริสเตียน) อย่างไรก็ตามความเชื่อเกี่ยวกับ "การชำระดวงวิญญาณ" อาจถูกปฏิเสธอย่างชัดเจนจากในประเพณีความเชื่ออื่น ๆ คำว่า purgatory ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาแอลโกล-นอร์แมน และภาษาฝรั่งเศสเก่า จากคำละตินว่า "purgatorium" ถูกใช้กันเป็นวงกว้างเพื่ออ้างถึงแนวคิดทางประวัติศาสตร์และแนวคิดสมัยใหม่ของ การทนทุกข์ทรมานสั้นๆ หลังความตายจากการสาปแช่งอันเป็นนิรันดร์ และถูกใช้อย่างไม่เฉพาะเจาะจงเพื่อหมายถึงสถานที่หรือสภาวะของความทุกข์ทรมานหรือความเจ็บปวดที่ไม่ยืนยาว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดันเต อาลีกีเอรีและแดนชำระ

ดันเต อาลีกีเอรีและแดนชำระ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดันเต อาลีกีเอรีและแดนชำระ

ดันเต อาลีกีเอรี มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ แดนชำระ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (15 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดันเต อาลีกีเอรีและแดนชำระ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »