โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดวงจันทร์และฤๅษีวาลมีกิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดวงจันทร์และฤๅษีวาลมีกิ

ดวงจันทร์ vs. ฤๅษีวาลมีกิ

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107). ๅษีวาลมีกิ ฤๅษีวาลมีกิ (वाल्मीकि มีชีวิตอยู่ในช่วงประมาณ 400 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักบวชฮินดู นักประพันธ์วรรณกรรมภาษาสันสกฤต ซึ่งที่โด่งดังที่สุดคือรามายณะ เดิมทีฤๅษีวาลมีกิอยู่ในวรรณะพราหมณ์ แต่ชอบคบหาสมาคมกับโจรป่า จากนั้นก็แต่งงานกับโจรป่า จึงทำให้กลายเป็นโจรป่าไปด้วย และได้ปล้นสดมฆ่าคนมามากมาย จนครั้งหนึ่งได้ไปพบกับ สัปตะฤๅษี (ฤๅษี ทั้ง 7) สัปตะฤๅษีก็ได้บอกล่าวถึงบาปบุญคุณโทษให้ฤๅษีวาลมีกิฟัง แล้วเกิดการสำนึกผิดขึ้นมา อยากออกบวช สัปตะฤๅษีจึงบอกวิธีแก้ไขให้ คือ ต้องภาวนามันตราศักดิ์สิทธิ์ว่า "เฮ ราม" จากนั้นสัปตะฤๅษีก็จากไป ฤๅษีวาลมีกิท่องมันตราศักดิ์สิทธิ์จนครบ 1,000 ปี จนเกิดจอมปลวกห่อคลุมร่าง แล้วสัปตะฤๅษีก็มาปรากฏให้เห็นอีกครั้ง แล้วบอกฤๅษีวาลมีกิว่า "เจ้าภาวนาสำเร็จแล้ว" จากนั้นพระพรหม ก็ปรากฏพระวรกายให้ฤๅษีวาลมีกิเห็นและประทานโองการว่า "วาลมีกิ ถ้าเจ้าอยากลบล้างบาป ที่เจ้าเคยเป็นโจรป่าแล้วฆ่าคนมามากมาย เจ้าต้องบันทึกเรื่องราวของ พระราม โดยการตั้งชื่อ รามายณะ ส่วนเรื่องราว ฤๅษีนารทมุนี จะเป็นคนเล่าเรื่องให้เจ้าฟัง แล้วให้เจ้าเป็นผู้บันทึกเอง" จากนั้นฤๅษีวาลมีกิก็ เริ่มบันทึกเรื่องราวของพระราม โดยมาจากวาทะของฤๅษีนารทมุนี และ นิทานพระราม จนเป็นคัมภีร์รามายณะ จนถึงทุกวันนี้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดวงจันทร์และฤๅษีวาลมีกิ

ดวงจันทร์และฤๅษีวาลมีกิ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาสันสกฤต

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ดวงจันทร์และภาษาสันสกฤต · ภาษาสันสกฤตและฤๅษีวาลมีกิ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดวงจันทร์และฤๅษีวาลมีกิ

ดวงจันทร์ มี 59 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฤๅษีวาลมีกิ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.59% = 1 / (59 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดวงจันทร์และฤๅษีวาลมีกิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »