โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและภาษาฝรั่งเศส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและภาษาฝรั่งเศส

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา vs. ภาษาฝรั่งเศส

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา (Jean-Bédel Bokassa) เป็นอดีตจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง (สาธารณรัฐแอฟริกากลางในปัจจุบัน) เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 ที่แอฟริกากลางขณะเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส เมื่อโตขึ้นจึงเข้าร่วมกับกองทัพแอฟริกากลางเพื่อต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส ได้เป็นแนวหน้าสู้รบอย่างกล้าหาญ จนได้เหรียญกล้าหาญมาได้ จนในที่สุดแอฟริกากลางก็ได้รับเอกราช แต่บอกาซาก็ฉวยโอกาสตอนที่บ้านเมืองยังอ่อนแอจากการรับเอกราชใหม่ ๆ ก่อรัฐประหารโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐแอฟริกากลางของดาวีด ดักโก ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1966 และบริหารประเทศในฐานะผู้นำประเทศ จนกระทั่งในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1976 บอกาซาได้ปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 แห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง ใช้จ่ายบนสิทธิกษัตริย์อย่างฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่าย มีฉลองพระองค์และฉลองพระบาทประดับมุก สร้างพระราชบัลลังก์ให้ทองคำรูปนกอินทรีขนาดยักษ์ สร้างพระราชวังหินอ่อน ประดับโคมไฟระย้าสุดวิจิตร สูบเงินประเทศชาติจนแทบล่มจม นอกจากนี้ยังมีการลงโทษศัตรูและนักโทษในประเทศอย่างโหดร้าย ตั้งแต่พระราชอาญาที่ไม่ถึงตาย เช่น การตัดใบหู จนถึงพระราชอาญาถึงตาย เช่น การทุบตีจนตายอย่างทรมาน โยนเข้าไปในกรงสิงโต โยนลงบ่อจระเข้ จนถึงการส่งตัวให้แก่ชนเผ่ากินคน แต่วิธีการลงโทษทั้งหมดเป็นความลับซึ่งมีแต่คนในเท่านั้นที่จะรู้ ส่วนความฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่ายไม่ใช่ความลับ เพราะบอกาซาเห็นว่าปกปิดไม่ได้ ประชาชนคนนอกจึงรู้ดี ทำให้ประชาชนเริ่มไม่พอใจ จนกระทั่งในที่สุด ประชาชนที่นำโดยดาวีด ดักโก ผู้ที่บอกาซาเคยโค่นล้มเมื่อสิบกว่าปีก่อน โค่นพระราชอำนาจจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 และยกเลิกจักรวรรดิแอฟริกากลางแล้วรื้อฟื้นสาธารณรัฐแอฟริกาในวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1979 ส่วนบอกาซาหลบหนีอออกนอกประเทศไปได้ และความลับเรื่องวิธีการที่เขาลงโทษฝ่ายตรงข้ามก็ถูกเปิดเผย ดังนั้น ในเวลาต่อมา ศาลของสาธารณรัฐแอฟริกากลางจึงตัดสินโทษบอกาซาให้สำเร็จโทษ แต่ตอนนั้นบอกาซายังไม่กลับเข้าประเทศ ทางด้านบอกาซาแม้จะรู้ว่าหากกลับประเทศแล้วจะเจอโทษอะไร แต่ยังกลับสาธารณรัฐแอฟริกากลางในปี ค.ศ. 1987 เพราะคิดว่าตนเองเป็นวีรบุรุษของชาติ เขาจึงถูกจับขึ้นศาล แต่ศาลของรัฐบาลใหม่ได้แสดงความเมตตาโดยการลดโทษเหลือจำคุกตลอดชีวิต ก่อนที่ปีต่อมาจะถูกลดโทษให้เหลือจำคุก 20 ปี ในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1993 บอกาซาได้รับการนิรโทษกรรมจากปัญหาด้านสุขภาพจากประธานาธิบดีอองเดร โคลิงบา ซึ่งเป็นประธาธิบดีคนเดียวกับที่ตัดสินโทษแก่บอกาซา โดยเมื่อถูกปล่อยตัว เขาได้อ้างว่าเป็นอัครทูตองค์ที่สิบสาม พร้อมกับอ้างว่าเคยพบกับสมเด็จพระสันตะปาปาอย่างลับๆ บอกาซาเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจล้มเหลวที่บ้านของตนเองเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 รวมอายุ 75 ปี โดยได้รับการรายงานว่าเขามีภรรยา 17 คน และบุตรกับสตรีรวมกัน 50 คน หมวดหมู่:จักรพรรดิ หมวดหมู่:บุคคลที่เคยนับถือศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:บุคคลที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์. ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและภาษาฝรั่งเศส

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและภาษาฝรั่งเศส มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2519พ.ศ. 2530พ.ศ. 2536พ.ศ. 2539สาธารณรัฐแอฟริกากลางอาณานิคม

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและพ.ศ. 2519 · พ.ศ. 2519และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและพ.ศ. 2530 · พ.ศ. 2530และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและพ.ศ. 2536 · พ.ศ. 2536และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและพ.ศ. 2539 · พ.ศ. 2539และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกากลาง

รณรัฐแอฟริกากลาง (République centrafricaine; ซังโก: Ködörösêse tî Bêafrîka) หรือ ซ็องทราฟริก (Centrafrique) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศชาด ทางตะวันออกจรดประเทศซูดาน ทางใต้จรดสาธารณรัฐคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) และทางตะวันตกจรดประเทศแคเมอรูน ตั้งอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร และแบ่งลุ่มแม่น้ำคองโกจากทะเลสาบชาดและลุ่มแม่น้ำไนล์ขาว.

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง · ภาษาฝรั่งเศสและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคม

ในทางการเมืองและประวัติศาสตร์ อาณานิคม (Colony) หมายถึงดินแดนที่อยู่ภายใต้การควบคุมทางการเมืองของรัฐๆหนึ่ง ไม่มีอำนาจอธิปไตยเป็นของตนเอง อาณานิคมสามารถเกิดขึ้นได้จาก 2 กรณีคือ กรณีแรกคือการจัดตั้งอาณานิคม ในอดีต เจ้าอาณานิคมมักส่งคณะบุกเบิกไปตั้งอาณานิคมในดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ กรณีที่สองคือการเข้ายึดครองดินแดนซึ่งเดิมอาจเคยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ของตนเองมาก่อน หรืออาจมีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่ก่อน อย่างไรก็ตาม วัตถุประสงค์หลักของการมีอาณานิคม คือการแสวงหาทรัพยากรและผลประโยชน์ป้อนแก่แผ่นดินบ้านเกิดของเจ้าอาณานิคมที่เรียกว่า "แผ่นดินแม่" อาณานิคมไม่เหมือนกับ รัฐหุ่นเชิด หรือ รัฐบริวาร เนื่องจากอาณานิคมไม่ได้มีฐานะเป็น รัฐ จึงไม่มีจุดยืนในเวทีระหว่างประเทศ เนื่องจากฝ่ายบริหารสูงสุดของอาณานิคม ยังคงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของแผ่นดินแม่ ในปัจจุบัน อาณานิคมที่มีอยู่ทั้งหมดเป็นอาณานิคมโพ้นทะเล รัฐบาลกลางบางประเทศ อาจยินยอมให้อาณานิคมมีรัฐบาลเป็นของตนเองซึ่งเป็นการลดภาระของรัฐบาลกลาง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า รัฐบาลอาณานิคมจะดูแลทุกอย่างภายในอาณานิคม ด้านกฎหมาย, การคลัง, กลาโหม, ต่างประเทศ ยังคงถูกกำหนดจากรัฐบาลกลาง.

ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและอาณานิคม · ภาษาฝรั่งเศสและอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและภาษาฝรั่งเศส

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษาฝรั่งเศส มี 146 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 3.57% = 6 / (22 + 146)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฌ็อง-เบแดล บอกาซาและภาษาฝรั่งเศส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »