เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฌัก เอแบร์และมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฌัก เอแบร์และมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

ฌัก เอแบร์ vs. มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

ัก-เรอเน เอแบร์ (Jacques-René Hébert) เป็นนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ ลาแปร์ดูว์แชน (Le Père Duchesne) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ลัทธิหัวรุนแรงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และทำให้เขาเป็นผู้นำของกลุ่มเอแบร์ (Hébertist) ในวันที่ 17 กรกฎาคม.. มักซีมีเลียง ฟร็องซัว มารี อีซีดอร์ เดอ รอแบ็สปีแยร์ (Maximilien François Marie Isidore de Robespierre; 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337) เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมที่ตั้งขึ้นเพื่อสอดส่องดูแลความมั่นคงปลอดภัยในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประธานของคณะนี้มีอำนาจจับกุมและสั่งประหารชีวิตผู้คนได้ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 (ค.ศ. 1758) ที่เมืองอารัส แคว้นนอร์-ปาดกาแล ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาก็ได้เข้าเป็นผู้นำของกลุ่มฌากอแบ็งที่กล่าวหาพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส และพระนางมารี อ็องตัวแน็ตว่า ได้ทรงกระทำการในสิ่งที่เป็นการขายชาติ ทั้งยังเรียกร้องให้ประหารชีวิตทั้งสองพระองค์อีกด้วย แต่หลังจากนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) มีฝูงชนฝรั่งเศสกลุ่มใหญ่ลุกฮือทลายคุกบัสตีย์ในกรุงปารีส เพื่อต่อต้านระบอบกษัตริย์และขุนนางของฝรั่งเศส แล้วไม่นานชาวฝรั่งเศสจำนวนมากก็เข้าร่วมฝูงชนนี้ ทำให้การปฏิวัติสำเร็จอย่างรวดเร็ว ฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย แต่ประเทศอื่น ๆ ต่างคัดค้านไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัตินี้และพยายามกดขี่ข่มเหงฝรั่งเศส ดังนั้น ต่อมาในพ.ศ. 2336 รอแบ็สปีแยร์ก็ฉวยโอกาสตอนตนกำลังมีชื่อเสียงโด่งดังและช่วงที่ฝรั่งเศสกำลังถูกคุกคาม เข้ารับตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม เขาจึงได้กลายเป็นจอมเผด็จการอย่างแท้จริง ในเวลาปีเดียว เขาจับกุมและประหารผู้คนนับพัน ๆ ตั้งแต่ความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ จนถึงความผิดอุกฉกรรจ์ หรือแม้แต่การใส่ร้ายใส่ความโดยรอแบ็สปีแยร์ ต้องถูกประหารโดยเครื่องประหารกิโยตีน เขาคิดว่าสิ่งที่เขาทำเป็นสิ่งที่ถูกต้องดีงาม แต่คนอื่น ๆ เรียกช่วงเวลาที่รอแบ็สปีแยร์อยู่ในตำแหน่งว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ศัตรูจึงขนานนามเขาว่า ดิกตาเตอร์ซ็องกีแนร์ หรือเผด็จการกระหายเลือด ดังนั้นใน พ.ศ. 2337 จึงมีผู้คนจำนวนมหาศาลรวมตัวกันโค่นอำนาจและจับกุมรอแบ็สปีแยร์ เขาพยายามฆ่าตัวตาย แต่ไม่สำเร็จ ต้องตายโดยการถูกประหารด้วยเครื่องกิโยตีนท่ามกลางผู้คนมากมายที่รุมล้อมในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337 (ค.ศ. 1794) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2301 หมวดหมู่:นักการเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลในการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้สมรู้ร่วมคิดการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฌัก เอแบร์และมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

ฌัก เอแบร์และมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสการปฏิวัติฝรั่งเศสกิโยตีนสภากงว็องซียงแห่งชาติฌากอแบ็งคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมประเทศฝรั่งเศสปารีสเทวัสนิยม

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ฌัก เอแบร์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌัก เอแบร์ · การปฏิวัติฝรั่งเศสและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

กิโยตีน

กีโยตีนในอังกฤษ โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน กิโยตีน (guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก.

กิโยตีนและฌัก เอแบร์ · กิโยตีนและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

สภากงว็องซียงแห่งชาติ

สภากงว็องซียงแห่งชาติ (Convention nationale) คือคณะการปกครองประเทศฝรั่งเศสในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส โดยเริ่มทำการปกครองตั้งแต่ 20 กันยายน ค.ศ. 1792 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1795 โดยทำหน้าที่บริหารประเทศและควบคุมอำนาจบริหารในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงช่วงสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 โดยสมาชิกที่มีชื่อเสียงจากสมัชชาแห่งนี้ได้แก่ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์, ฌ็อง-ปอล มารา, ฌอร์ฌ ด็องตง เป็นต้น โดยในภายหลังทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม หมวดหมู่:การปฏิวัติฝรั่งเศส.

ฌัก เอแบร์และสภากงว็องซียงแห่งชาติ · มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์และสภากงว็องซียงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ฌากอแบ็ง

การประชุมใหญ่สโมสรฌากอแบ็งในปีค.ศ. 1791 สมาคมเหล่าสหายของรัฐธรรมนูญ (Société des amis de la Constitution) หรือหลังเปลี่ยนชื่อในปี..

ฌัก เอแบร์และฌากอแบ็ง · ฌากอแบ็งและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม

มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ กลายเป็นผู้มีอำนาจที่สุดในฝรั่งเศสในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม (Comité de salut public) เป็นคณะผู้ตรวจสอบซึ่งสภากงว็องซียงแห่งชาติจัดตั้งในเดือนเมษายน..

คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมและฌัก เอแบร์ · คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ฌัก เอแบร์และประเทศฝรั่งเศส · ประเทศฝรั่งเศสและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ฌัก เอแบร์และปารีส · ปารีสและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวัสนิยม

เทวัสนิยม (deism) เป็นแนวความคิดที่สำคัญในศตวรรษที่ 18 โดยในศตวรรษนี้เป็นยุคแห่งเหตุผล นักคิดทั้งหลายต่างพยายามที่จะสร้างระบบการวิเคราะห์แบบวิทยาศาสตร์ที่ได้ผลและสมเหตุสมผลขึ้น โดยไม่ยอมพึ่งพาอาศัยอำนาจเหนือธรรมชาติต่าง ๆ พระเจ้าเป็นเพียงผู้สร้างโลกเท่านั้น เราจะเห็นการแบ่งเป็นฝักฝ่ายระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์ได้เกิดขึ้น พวกหัวเก่าโจมตีพวกหัวใหม่ว่าต่อไปนี้จะไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์หลงเหลืออยู่อีก การถกเถียงเป็นไปอย่างกว้างขวางอันเป็นเหตุให้เกิดความคิดแบบเทวัสนิยมขึ้นมา พวกนี้เชื่อในพระเจ้าแต่ในขณะเดียวกันก็เชื่อมั่นในเหตุผลและคิดว่าจะสามารถใช้เหตุผลพิสูจน์ในเรื่องพระเจ้าได้ พวกนี้เชื่อต่อไปอีกว่าเหตุผลเท่านั้นที่จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจศาสนาและศีลธรรมอย่างถูกต้อง พวกนี้ถือว่าพระเจ้านั้นมีอยู่ ทว่าหลังจากที่ทรงสร้างโลกแล้วก็มิได้ลงมายุ่งเกี่ยวกับมนุษย์อีกเลย พวกนี้ยอมรับศาสนาในสมัยแรกเริ่ม แต่มักจะโจมตีศาสนาในระยะหลังที่มีพิธีการ มีพระเป็นผู้สืบศาสนา พวกนี้เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีเหตุผลอยู่ในตัว เพียงแต่ว่าคนส่วนใหญ่ไม่สามารถจะบังคับในตัวเองให้ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ทำให้พระเข้ามามีบทบาทได้ ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้ว มนุษย์ทุกคนเข้าถึงและรู้เข้าใจเกี่ยวกับศาสนาเป็นอย่างดี ตัวอย่างผู้มีความเชื่อแบบเทวัสนิยม ได้แก่ เบนจามิน แฟรงคลินและวอลแตร์ หมวดหมู่:ความเชื่อ.

ฌัก เอแบร์และเทวัสนิยม · มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์และเทวัสนิยม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฌัก เอแบร์และมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

ฌัก เอแบร์ มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 20.45% = 9 / (19 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฌัก เอแบร์และมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: