ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฌอร์ฌ กูตงและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์
ฌอร์ฌ กูตงและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การปฏิวัติฝรั่งเศสกิโยตีนมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์สภากงว็องซียงแห่งชาติสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม
การปฏิวัติฝรั่งเศส
การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..
การปฏิวัติฝรั่งเศสและฌอร์ฌ กูตง · การปฏิวัติฝรั่งเศสและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ ·
กิโยตีน
กีโยตีนในอังกฤษ โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน กิโยตีน (guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก.
กิโยตีนและฌอร์ฌ กูตง · กิโยตีนและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ ·
มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์
มักซีมีเลียง ฟร็องซัว มารี อีซีดอร์ เดอ รอแบ็สปีแยร์ (Maximilien François Marie Isidore de Robespierre; 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337) เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมที่ตั้งขึ้นเพื่อสอดส่องดูแลความมั่นคงปลอดภัยในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประธานของคณะนี้มีอำนาจจับกุมและสั่งประหารชีวิตผู้คนได้ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 (ค.ศ. 1758) ที่เมืองอารัส แคว้นนอร์-ปาดกาแล ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาก็ได้เข้าเป็นผู้นำของกลุ่มฌากอแบ็งที่กล่าวหาพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส และพระนางมารี อ็องตัวแน็ตว่า ได้ทรงกระทำการในสิ่งที่เป็นการขายชาติ ทั้งยังเรียกร้องให้ประหารชีวิตทั้งสองพระองค์อีกด้วย แต่หลังจากนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) มีฝูงชนฝรั่งเศสกลุ่มใหญ่ลุกฮือทลายคุกบัสตีย์ในกรุงปารีส เพื่อต่อต้านระบอบกษัตริย์และขุนนางของฝรั่งเศส แล้วไม่นานชาวฝรั่งเศสจำนวนมากก็เข้าร่วมฝูงชนนี้ ทำให้การปฏิวัติสำเร็จอย่างรวดเร็ว ฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย แต่ประเทศอื่น ๆ ต่างคัดค้านไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัตินี้และพยายามกดขี่ข่มเหงฝรั่งเศส ดังนั้น ต่อมาในพ.ศ. 2336 รอแบ็สปีแยร์ก็ฉวยโอกาสตอนตนกำลังมีชื่อเสียงโด่งดังและช่วงที่ฝรั่งเศสกำลังถูกคุกคาม เข้ารับตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม เขาจึงได้กลายเป็นจอมเผด็จการอย่างแท้จริง ในเวลาปีเดียว เขาจับกุมและประหารผู้คนนับพัน ๆ ตั้งแต่ความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ จนถึงความผิดอุกฉกรรจ์ หรือแม้แต่การใส่ร้ายใส่ความโดยรอแบ็สปีแยร์ ต้องถูกประหารโดยเครื่องประหารกิโยตีน เขาคิดว่าสิ่งที่เขาทำเป็นสิ่งที่ถูกต้องดีงาม แต่คนอื่น ๆ เรียกช่วงเวลาที่รอแบ็สปีแยร์อยู่ในตำแหน่งว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ศัตรูจึงขนานนามเขาว่า ดิกตาเตอร์ซ็องกีแนร์ หรือเผด็จการกระหายเลือด ดังนั้นใน พ.ศ. 2337 จึงมีผู้คนจำนวนมหาศาลรวมตัวกันโค่นอำนาจและจับกุมรอแบ็สปีแยร์ เขาพยายามฆ่าตัวตาย แต่ไม่สำเร็จ ต้องตายโดยการถูกประหารด้วยเครื่องกิโยตีนท่ามกลางผู้คนมากมายที่รุมล้อมในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337 (ค.ศ. 1794) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2301 หมวดหมู่:นักการเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลในการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้สมรู้ร่วมคิดการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16.
ฌอร์ฌ กูตงและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์และหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ ·
สภากงว็องซียงแห่งชาติ
สภากงว็องซียงแห่งชาติ (Convention nationale) คือคณะการปกครองประเทศฝรั่งเศสในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส โดยเริ่มทำการปกครองตั้งแต่ 20 กันยายน ค.ศ. 1792 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1795 โดยทำหน้าที่บริหารประเทศและควบคุมอำนาจบริหารในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงช่วงสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 โดยสมาชิกที่มีชื่อเสียงจากสมัชชาแห่งนี้ได้แก่ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์, ฌ็อง-ปอล มารา, ฌอร์ฌ ด็องตง เป็นต้น โดยในภายหลังทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม หมวดหมู่:การปฏิวัติฝรั่งเศส.
ฌอร์ฌ กูตงและสภากงว็องซียงแห่งชาติ · สภากงว็องซียงแห่งชาติและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ ·
สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว
มัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว (Reign of Terror; 5 กันยายน ค.ศ. 1793 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794) หรือที่เรียกว่า The Terror (la Terreur) เป็นสมัยแห่งความรุนแรงที่เกิดขึ้นหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสเริ่มต้น โดยถูกกระตุ้นจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มแยกทางการเมืองที่เป็นคู่แข่งกัน คือ ฌีรงแด็ง (Girondins) และฌากอแบ็ง (Jacobins) ซึ่งมีการประหารชีวิต "ศัตรูแห่งการปฏิวัติ" จำนวนมาก ยอดผู้เสียชีวิตอยู่ในหลักหมื่น โดยมีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยติน 16,594 คน และอีก 25,000 คน ถูกประหารชีวิตอย่างรวบรัดทั่วฝรั่งเศส กิโยตินกลายมาเป็นสัญลักษณ์แห่งอุดมการณ์การปฏิวัติ ซึ่งมีการประหารชีวิตบุคคลสำคัญจำนวนมาก เช่น มารี อ็องตัวแน็ตและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทั้งผู้สนับสนุนการปฏิวัติ ฟิลิปป์ เอกาลีเต (หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์) มาดามโรลองด์และกลุ่มฌีรงแด็ง นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายคน อาทิ อ็องตวน ลาวัวซีเย นักเคมีบุกเบิก ที่ต้องมาสังเวยชีวิตด้วยเช่นกัน ระหว่าง..
ฌอร์ฌ กูตงและสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว · สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ ·
คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม
มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ กลายเป็นผู้มีอำนาจที่สุดในฝรั่งเศสในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม (Comité de salut public) เป็นคณะผู้ตรวจสอบซึ่งสภากงว็องซียงแห่งชาติจัดตั้งในเดือนเมษายน..
คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมและฌอร์ฌ กูตง · คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ฌอร์ฌ กูตงและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฌอร์ฌ กูตงและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์
การเปรียบเทียบระหว่าง ฌอร์ฌ กูตงและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์
ฌอร์ฌ กูตง มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ หลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 37.50% = 6 / (7 + 9)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฌอร์ฌ กูตงและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: