โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)และนาซา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)และนาซา

ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ) vs. นาซา

ซเวซดา (Zvezda; Звезда หมายถึง "ดวงดาว") หรือที่รู้จักในชื่อ โมดูลบริการซเวซดา เป็นส่วนประกอบหนึ่งของสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นโมดูลที่ 3 ที่นำส่งขึ้นไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นส่วนจัดการเรื่องระบบสนับสนุนการดำรงชีพส่วนใหญ่ของสถานี รวมไปถึงเป็นส่วนที่อยู่อาศัยของลูกเรือ 2 คน โมดูบซเวซดาเป็นศูนย์กลางโครงสร้างหลักและฟังก์ชันการทำงานของส่วนประกอบของรัสเซียบนสถานีอวกาศนานาชาติ คือ เซ็กเมนต์วงโคจรของรัสเซีย (Russian Orbital Segment) โมดูลนี้ก่อสร้างโดย S.P. Korolev Rocket and Space Corporation Energia และนำส่งขึ้นเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม.. องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)และนาซา

ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)และนาซา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)และนาซา

ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ) มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ นาซา มี 50 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 50)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซเวซดา (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)และนาซา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »