โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซูลู

ดัชนี ซูลู

นักรบซูลูในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โปรดสังเกตชาวยุโรปแถวหลัง ซูลู (Zulu) เป็นชนเผ่ากลุ่มหนึ่งของแอฟริกา มีจำนวนประชากรประมาณ 11 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่อาศัยในควาซูลู-นาตาล แอฟริกาใต้ มีจำนวนเล็กน้อยที่อยู่อาศัยในซิมบับเว แซมเบียและโมแซมบีก ภาษาอีซิซูลู (isiZulu) เป็นสาขาหนึ่งของภาษาบันตู (Bantu) ซึ่งจัดอยู่ในภาษาลุ่มย่อย "นูนิ" (Nguni) ราชอาณาจักรซูลูมีบทบาทสำคัญมากในประวัติศาสตร์ของประเทศแอฟริกาใต้ โดยเฉพาะในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2344 - พ.ศ. 2444 (คริสต์ศตวรรษที่ 19-20) ในยุคแห่งการถือผิว ชาวซูลูถูกจัดให้เป็นประชาชนชั้น 2 และถูกดูถูกเหยียดหยามอย่างรุนแรง ปัจจุบันชาวซูลูเป็นชนเผ่าที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศแอฟริกาใต้และมีสิทธิเสรีภาพแห่งมนุษยชนเท่าเทียมกับประชาชนทุกเชื้อชาติและชนเผ่าในประเท.

25 ความสัมพันธ์: ชากาซูลูพ.ศ. 2330พ.ศ. 2344พ.ศ. 2380พ.ศ. 2381พ.ศ. 2385พ.ศ. 2386พ.ศ. 2395พ.ศ. 2415พ.ศ. 2421พ.ศ. 2422พ.ศ. 2425พ.ศ. 2444พ.ศ. 2456การถือผิวมพันเดสงครามอังกฤษ–ซูลูดิงกาเนประเทศอังกฤษประเทศซิมบับเวประเทศแซมเบียประเทศเอสวาตีนีนาตาเลียเคตช์วาโยเคปทาวน์

ชากาซูลู

พระบรมฉายาลักษณ์เพียงรูปเดียวของชากาซูลู ชากาซูลู หรือสมเด็จพระราชาธิบดีชากาซูลู (บางครั้งสะกดว่าชาก้า พระบรมราชสมภพเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2324 เสด็จสวรรคตเมื่อประมาณ22 สิงหาคม พ.ศ. 2371) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรซูลู ซึ่งในปัจจุบันคือ แอฟริกาใต้ เขาเป็นคนสร้างให้ซูลูเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่เกรียงไกร เป็นที่เกรงกลัวของชาติตะวันตกมาก มีชื่อเสียงทางด้านการเดินทางไกลด้วยการวิ่งเร็ว 50 ไมล์ และเข้าโจมตีด้วยรูปขบวนที่น่ากลัว หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ซูลู หมวดหมู่:ซูลู.

ใหม่!!: ซูลูและชากาซูลู · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2330

ทธศักราช 2330 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2330 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2380

ทธศักราช 2380 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1837.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2380 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2381

ทธศักราช 2381 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1838.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2381 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2385

ทธศักราช 2385 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2385 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2386

ทธศักราช 2386 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2386 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2395

ทธศักราช 2395 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1852.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2395 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2415

ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2415 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2421

ทธศักราช 2421 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1878.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2421 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2422

ทธศักราช 2422 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1879.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2422 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2425 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซูลูและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

การถือผิว

แผ่นป้ายการแยกผิวบนหาด Durban ในภาษาอังกฤษ ภาษาแอฟริกัน และภาษาซูลู การถือผิวในประเทศแอฟริกาใต้ (Apartheid) เป็นระบบการแบ่งแยกกลุ่มคนต่างเชื้อชาติในประเทศแอฟริกาใต้ออกจากกัน บังคับใช้โดยรัฐบาลของพรรค National Party ในประเทศแอฟริกาใต้ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ซูลูและการถือผิว · ดูเพิ่มเติม »

มพันเด

มพันเด มพันเด หรือสมเด็จพระราชาธิบดีมพันเด (Mpande) (1798-1872) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรซูลู พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ตั้งแต่ปี 1840 จนถึง 1872 พระองค์จึงเป็นพระมหากษัตริย์ซูลูที่ทรงครองราชย์ยาวนานที่สุด พระองค์เป็นพระราชอนุชาของชากาซูลูและดิงกาเน อดีตพระมหากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ซูลู.

ใหม่!!: ซูลูและมพันเด · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–ซูลู

งครามอังกฤษ–ชูลู เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิบริติชและราชอาณาจักรซูลู ในปี 1879 หลังจากลอร์ดคายร์นาร์วอนริเริ่มสหพันธรัฐในแคนนาดาได้สำเร็จ จึงมีความคิดว่าความพยายามทางการเมืองคล้ายกันกอปรกับการทัพ อาจประสบความสำเร็จกับราชอาณาจักรแอฟริกา พื้นที่ชนเผ่าและสาธารณะโบเออร์ในแแอฟริกาใต้เช่นกัน ในปี 1876 เชอร์ เฮนรี บาร์เทิล เฟรียร์ ถูกส่งไปเป็นข้าหลวงใหญ่จักรวรรดิบริติชประจำแอฟริกาใต้เพื่อนำแผนดังกล่าวไปปฏิบัติ หนึ่งในอุปสรรคนั้นคือ การมีรัฐเอกราชสาธารณะแอฟริกาใต้ ราชอาณาจักรแห่งซูลูแลนด์ และกองทัพของสองรัฐ จากความคิดริเริ่มของเฟรียร์ โดยไม่ได้รับคำยินยอมจากรัฐบาลบริติช และด้วยเจตนาเริ่มสงครามกับซูลู ยื่นคำขาดในวันที่ 11 ธันวาคม 1878 ให้กับพระมหากษัตริย์ซูลู เซเตวาโย (Cetshwayo) ซึ่งพระองค์ไม่อาจปฏิบัติตามได้ ที่ข้อตกลงนั้นรวมการปลดประจำการกองทัพและเลิกประเพณีทางวัฒนธรรมสำคัญของตน บาร์เทิล เฟรียร์ ได้ส่งลอร์ดเชล์มฟอร์ดไปบุกครองซูลูแลนด์หลังไม่ยอมปฏิบัติตามคำขาด สงครามนี้ได้เป็นที่รู้จักจากยุทธการนองเลือดเป็นพิเศษหลายครั้ง รวมถึงชัยของซูลูที่ไอแซนด์ลวานา (Isandlwana) ในขั้นแรก ตามมาด้วยความปราชัยของกองทัพซูลูขนาดใหญ่ที่ยุทธการแห่งร็อคส์ดริฟท์ด้วยด้วยกำลังบริติชเพียงหยิบมือ สุดท้ายบริเตนชนะและยุติภาวะครอบงำของซูลูในภูม.

ใหม่!!: ซูลูและสงครามอังกฤษ–ซูลู · ดูเพิ่มเติม »

ดิงกาเน

งกาเน ดิงกาเน คาเซนซังกาโคนา ซูลู หรือสมเด็จพระราชาธิบดีดิงกาเน คาเซนซังกาโคนา ซูลู (Dingane kaSenzangakhona Zulu) (1795–1840) โดยปกติจะเรียกว่า ดิงกาเน เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรซูลู ตั้งแต่ปี 1828 พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 ของอาณาจักรซูลู พระองค์ครองราชย์ต่อจากชากาซูลู พระมหากษัตริย์องค์แรกแห่งอาณาจักรซูลู.

ใหม่!!: ซูลูและดิงกาเน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: ซูลูและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซิมบับเว

ซิมบับเว (Zimbabwe) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซิมบับเว (Republic of Zimbabwe) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ทวีปแอฟริกา อยู่ระหว่างแม่น้ำซัมเบซีและแม่น้ำลิมโปโป มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศโมซัมบิก ทิศตะวันตกติดกับประเทศบอตสวานา และทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ มีพื้นที่ประเทศ 390,580 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือ กรุงฮาราเร.

ใหม่!!: ซูลูและประเทศซิมบับเว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแซมเบีย

แซมเบีย (Zambia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแซมเบีย (Republic of Zambia) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคแอฟริกาใต้ มีพรมแดนทางด้านเหนือจรดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดแทนซาเนีย ทางด้านใต้จรดโมซัมบิก ซิมบับเว บอตสวานา และนามิเบีย และทางตะวันตกจรดแองโกลา เดิมมีชื่อว่าโรดีเซียเหนือ ชื่อแซมเบียมีต้นกำเนิดมาจากแม่น้ำแซมบีซี.

ใหม่!!: ซูลูและประเทศแซมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสวาตีนี

อสวาตีนี (eSwatini, ออกเสียง:; Eswatini) หรือ สวาซิแลนด์ (Swaziland) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเอสวาตีนี (Umbuso weSwatini; Kingdom of Eswatini) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านขนาดใหญ่ คือ แอฟริกาใต้และโมซัมบิก.

ใหม่!!: ซูลูและประเทศเอสวาตีนี · ดูเพิ่มเติม »

นาตาเลีย

นาตาลี แคเทอรีน "แนตตี" ไนด์ฮาร์ต-วิลสัน (Natalie Katherine "Nattie" Neidhart-Wilson) เกิดวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ซูลูและนาตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

เคตช์วาโย

ระบรมฉายาลักษณ์ของสมเด็จพระราชาธิบดีเคตช์วาโย ประมาณ พ.ศ. 2418 หรือค.ศ. 1875 เคตช์วาโย คามพันเด หรือสมเด็จพระราชาธิบดีเคตช์วาโย คามพันเด (ประมาณ พ.ศ. 2369 -8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2427) พระมหากษัตริย์ของชนชาติซูลู จาก พ.ศ. 2415 - พ.ศ. 2422 เป็นผู้นำการรบในสงครามซูลู ชื่อของพระองค์ได้ถูกเรียกไปต่างๆ กันคือ Cetawayo, Cetewayo, Cetywajo และ Ketchwayo พระองค์เป็นพระราชโอรสของพระเจ้า "มพันเด" กษัตริย์ซูลู พี่น้องต่างมารดาของกษัตริย์ "ชากา" ในปี พ.ศ. 2399 พระองค์ได้ต่อสู้และประหารพี่น้องต่างมารดาคือ "มบูยาซี" พระราชโอรสพระองค์โปรดของพระราชบิดาและได้เป็นผู้ปกครองที่มีประสิทธิภาพของซูลูตั้งแต่พระราชบิดายังทรงมีพระชนม์ เคตช์วาโย เสด็จสวรรคตในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: ซูลูและเคตช์วาโย · ดูเพิ่มเติม »

เคปทาวน์

เคปทาวน์ (Cape Town; Kaapstad) เป็นเมืองใหญ่อันดับสามและเป็นเมืองหลวงศูนย์กลางของฝ่ายนิติบัญญัติของประเทศแอฟริกาใต้ มีพื้นที่ 2,455 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 3,497,097 คน (พ.ศ. 2550) เมืองเก่าแก่ที่มีอายุกว่า 300 ปี ได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่สวยที่สุดและมีเสน่ห์ที่สุดเมืองหนึ่งในโลก เป็นเมืองเล็กๆที่มีชื่อเสียงที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศแอฟริกาใต้ ตรงแหลมกู๊ดโฮป ที่ยื่นออกไปทางระหว่างสองมหาสมุทร คือ มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแอตแลนติก จึงมีสภาพภูมิอากาศอบอุ่นแบบเมดิเตอร์เรเนียน จุดเด่นของเมืองอยู่ที่ภูเขาลูกใหญ่กลางเมืองที่สามารถมองเห็นได้จากทุกสารทิศ รูปทรงแปลกตาคือ มีลักษณะเสมือนโต๊ะที่ตั้งอยู่บนแผ่นดินอย่างไรอย่างนั้น จึงทำให้ภูเขาลูกนี้ได้รับการตั้งชื่อว่า ภูเขาโต๊ะ หรือ Table Mountain มีความสูง 1,086 เมตร หรือ 3,563 ฟุต นอกจากเมืองเคปทาวน์ เมืองหลวงอีกสองแห่งของประเทศแอฟริกาใต้ได้แก่ กรุงพริทอเรีย เป็นเมืองศูนย์กลางการบริหารประเทศ และบลูมฟอนเทน ซึ่งเป็นเมืองหลวงศูนย์กลางทางฝ่ายตุลาการ ในปี 2010 สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก สนามกีฬาเคปทาวน์เป็นหนึ่งในบรรดาสนามแข่งขันฟุตบอลโลกในปี 2010 ได้รับสมญานามว่า เป็นดินแดนแห่งการท่องเที่ยวติดอันดับหนึ่งในห้าของโลก เมืองเคปทาวน์ ตั้งอยู่ในแผ่นดินที่มีลักษณะคล้ายอ่าง (City Bowl) มีภูเขาล้อมรอบ อยู่ทางตอนเหนือของแหมลเพนนินซูลา ภูมิอากาศแบบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ลมแรงตลอดทั้งปี ทำให้พัดมลพิษทางอากาศไปจากเมืองอากาศจึงบริสุทธิ์ หมวดหมู่:เมืองในประเทศแอฟริกาใต้ หมวดหมู่:เมืองหลวง.

ใหม่!!: ซูลูและเคปทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Zulus

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »