โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซุ้มกาลิลีและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซุ้มกาลิลีและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ

ซุ้มกาลิลี vs. สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ

ซุ้มกาลิลี (Galilee (church architecture)) คือมุขทางเข้า หรือ ชาเปลด้านตะวันตกของบางคริสต์ศาสนสถานที่มีไว้สำหรับผู้สำนึกบาปมารอก่อนที่จะได้รับอนุญาตให้เข้าไปภายในตัววัดได้ หรือเป็นที่ใช้ในการพบปะเมื่อนักบวชมีธุรกิจกับสีกา หลักฐานแรกที่กล่าวถึงปฏิมณฑลชนิดนี้อาจจะพบใน “Consuetudines cluniacensis” โดยอัลริค หรือใน “Consuetudines cenobii cluniacensis” โดยเบอร์นาร์ดแห่งคลูนี แต่คำนิยามของปฏิมณฑลชนิดนี้ค่อนข้างกำกวม ฉะนั้นลักษณะโครงสร้างจึงไม่อาจจะบอกได้ว่าเป็นการบรรยายของคลูนีได้อย่างแน่นอน ตัวอย่างซุ้มกาลิลีที่ยังมีให้เห็นคือที่มหาวิหารเดอแรม มหาวิหารอีลี และ มหาวิหารลิงคอล์น. ท้องพระโรงเวสต์มินสเตอร์ที่เป็นเพดานแบบ “hammerbeam roof” ภาพจากคริสต์ศตวรรษที่ 18 สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ (English Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองขึ้นในอังกฤษระหว่างราวปี ค.ศ. 1180 ถึงราวปี ค.ศ. 1520 ลักษณะของสถาปัตยกรรมกอทิกของอังกฤษก็เช่นเดียวกับสถาปัตยกรรมกอทิกของส่วนอื่น ๆ ในยุโรป ที่บ่งลักษณะได้จากการใช้ซุ้มโค้งแหลม, เพดานโค้งแหลม, ค้ำยัน, หน้าต่างกว้างและสูง และหอหรือหลังคาที่เป็นยอดแหลม (spire) สถาปัตยกรรมกอทิกเข้ามาในอังกฤษจากฝรั่งเศส เมื่อองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีลักษณะที่เรียกว่า “กอทิก” ได้รับการสร้างรวมกันในวัดเดียวที่บาซิลิกาแซงต์เดอนีส์นอกกรุงปารีสเป็นครั้งแรกโดยแอบบ็อตซูแกร์ ที่ได้รับการสถาปนาในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซุ้มกาลิลีและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ

ซุ้มกาลิลีและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อาสนวิหารลิงคอล์นอาสนวิหารอีลีอาสนวิหารเดอรัมผังอาสนวิหารโบสถ์คริสต์

อาสนวิหารลิงคอล์น

้านหน้าแบบโรมาเนสก์ อาสนวิหารลิงคอล์น (อังกฤษ: Lincoln Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า “The Cathedral Church of the Blessed Virgin Mary of Lincoln” หรือ “St.

ซุ้มกาลิลีและอาสนวิหารลิงคอล์น · สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษและอาสนวิหารลิงคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอีลี

อาสนวิหารอีลี (ภาษาอังกฤษ: Ely Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า The Cathedral Church of the Holy and Undivided Trinity of Elyเป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันของสังฆมลฑลของบาทหลวงแห่งอีลี ตั้งอยู่ที่เมืองอีลี, เคมบริดจ์เชอร์, ในสหราชอาณาจักร สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอธิค อาสนวิหารเป็นที่รู้จักกันในท้องถิ่นว่า “เรือแห่งเฟ็น” เพราะอาสนวิหารตั้งเด่นอยู่บนบริเวณที่ราบที่เห็นได้แต่ใกล คริสต์ศาสนสถานเดิมที่สุดก่อตั้งโดยเอเธลเดรดา (Etheldreda) พระธิดาของพระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอน เอเธลเดรดาได้ที่ดินมาจากทอนดเบิร์คท์ (Tondberct) สามีคนแรกผู้เป็นหัวหน้ากีเวียนส์ใต้ (South Gyrvians) และหลังจากการแต่งงานครั้งที่สองกับเอกรฟริด (Eegrfrid) เจ้าชายจากนอร์ทธัมเบรียสิ้นสุดลงก็ได้ก่อตั้งสำนักสงฆ์ที่นั่นเมื่อปี..

ซุ้มกาลิลีและอาสนวิหารอีลี · สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษและอาสนวิหารอีลี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเดอรัม

อาสนวิหารเดอรัม คริสตจักรอาสนวิหารของพระคริสต์ พระนางมารีย์พรหมจารี และเซนต์คัธเบิร์ตแห่งเดอรัม (The Cathedral Church of Christ, Blessed Mary the Virgin and St Cuthbert of Durham) เรียกโดยย่อว่าอาสนวิหารเดอรัม เป็นอาสนวิหารแองกลิคัน ตั้งอยู่ที่เมืองเดอรัมใน สหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1093 มีชื่อเต็มว่า The Cathedral Church of Christ, Blessed Mary the Virgin and St Cuthbert of Durham ลักษณะโครงสร้างส่วนใหญ่เป็นแบบโรมาเนสก์ มีหอคอยสูง 66 เมตร มีบันไดขึ้นทั้งหมด 325 ขั้น อาสนวิหารเป็นที่เก็บเรลิกของคัธเบิร์ตแห่งลินเดสฟาร์น (Cuthbert of Lindisfarne) นักบุญจากศตวรรษที่ 7 นอกจากนั้นยังเป็นที่เก็บศีรษะของนักบุญออสวอลด์แห่งนอร์ธัมเบรีย (St Oswald of Northumbria) และร่างของนักบุญบีด มุขนายกแห่งเดอรัมเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจมากมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตำแหน่งของมุขนายกแห่งเดอรัมถือว่ามีความสำคัญเป็นที่สี่ของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ในปัจจุบันก็ยังมีป้ายของมณฑลเดอรัมว่าเป็นดินแดนของ Prince Bishops อาสนวิหารได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก พร้อมกับปราสาทเดอรัมซึ่งอยู่ตรงกันข้ามกันเหนือแม่น้ำเวียร์ (River Wear).

ซุ้มกาลิลีและอาสนวิหารเดอรัม · สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษและอาสนวิหารเดอรัม · ดูเพิ่มเติม »

ผังอาสนวิหาร

ผังของอาสนวิหารอาเมียง ที่ประเทศฝรั่งเศส แสดงให้เห็นเสาใหญ่รับน้ำหนักหอด้านหน้าวัด; แขนกางเขนสั้น; ชาเปล 7 ชาเปล ที่เรียกว่า “chevet” รอบมุขโค้งด้านสกัดออกมาจากจรมุข ผังอาสนวิหาร (Cathedral diagram, Cathedral plan, Cathedral floorplan) แสดงให้เห็นลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก แผนผังจะแสดงกำแพง แนวเสาทำให้เห็นโครงสร้าง เส้นสองเส้นบนกำแพงด้านนอกคือหน้าต่างกระจก เส้น x เป็นสัญลักษณ์สำหรับเพดานโค้ง ตามปกติผังของวัดทางคริสต์ศาสนาจะวางเหมือนการวางแผนที่ ด้านเหนืออยู่บน ด้านตะวันตกถือกันว่าเป็นด้านหน้าของวัด ด้านตะวันออกที่เป็นบริเวณที่ทำคริสต์ศาสนพิธีอยู่ทางขว.

ซุ้มกาลิลีและผังอาสนวิหาร · ผังอาสนวิหารและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ซุ้มกาลิลีและโบสถ์คริสต์ · สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษและโบสถ์คริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซุ้มกาลิลีและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ

ซุ้มกาลิลี มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ มี 60 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 7.35% = 5 / (8 + 60)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซุ้มกาลิลีและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »