โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซีเกมส์ 1979และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซีเกมส์ 1979และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ซีเกมส์ 1979 vs. ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

กีฬาซีเกมส์ 1979 (พ.ศ. 2522) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 10 โดยมีจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 21 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2522. ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซีเกมส์ 1979และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ซีเกมส์ 1979และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จาการ์ตาซีเกมส์ประเทศฟิลิปปินส์ประเทศอินโดนีเซียเกลอรา บังการ์โน สเตเดียม

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

จาการ์ตาและซีเกมส์ 1979 · จาการ์ตาและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์

ซีเกมส์ (South-East Asian Games; ชื่อย่อ: SEA Games) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสองปี (ปีเว้นปี) ดำเนินการแข่งขันโดยสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South-East Asian Games Federation; SEAGF) ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA).

ซีเกมส์และซีเกมส์ 1979 · ซีเกมส์และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ซีเกมส์ 1979และประเทศฟิลิปปินส์ · ประเทศฟิลิปปินส์และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ซีเกมส์ 1979และประเทศอินโดนีเซีย · ประเทศอินโดนีเซียและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เกลอรา บังการ์โน สเตเดียม

กลอรา บังการ์โน สเตเดียม หรือชื่ออย่างเป็นทางการ เกลอรา บังการ์โน เมนสเตเดียม (สตาดีโอน อูตามา เกลอรา บังการ์โน หรือ เกลอรา เสนายัน เมนสเตเดียม) เป็นสนามที่ใช้ได้หลายประเภท ตั้งอยู่ใน เกลอรา บังการ์โน สปอร์ตส คอมเพลกซ์ ในเขตเสนายัน ใจกลางเมืองจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยเป็นชื่อหลังจาก ซูการ์โน เป็นประธานีธิบดีของอินโดนีเซีย โดยส่วนมากจะใช้ในการแข่งขันฟุตบอล โดยมีความจุอยู่ที่ประมาณ 80,000 ที่นั่ง.

ซีเกมส์ 1979และเกลอรา บังการ์โน สเตเดียม · ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียและเกลอรา บังการ์โน สเตเดียม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซีเกมส์ 1979และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ซีเกมส์ 1979 มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย มี 41 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 8.93% = 5 / (15 + 41)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซีเกมส์ 1979และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »