โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซีกโลกเหนือและเหยี่ยวเพเรกริน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซีกโลกเหนือและเหยี่ยวเพเรกริน

ซีกโลกเหนือ vs. เหยี่ยวเพเรกริน

แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ บริเวณสีน้ำเงินคือซีกโลกเหนือ ส่วนบริเวณสีเหลืองคือซีกโลกใต้ เส้นที่ลากผ่านกึ่งกลางภาพคือเส้นศูนย์สูตร ซีกโลกเหนือ (northern hemisphere) คือบริเวณของโลกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปจนถึงขั้วโลกเหนือ ตรงข้ามกับซีกโลกใต้ ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ของละติจูดของตำแหน่งใดก็ตามบนซีกโลกเหนือจะเป็นบวกเสมอและใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัว N ฤดูหนาวของพื้นที่ในซีกโลกเหนือจะเริ่มตั้งแต่เหมายัน (ราววันที่ 21 ธันวาคม) จนถึงวสันตวิษุวัต (ราววันที่ 20 มีนาคม) ส่วนฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่ครีษมายัน (ราววันที่ 21 มิถุนายน) ไปจนถึงศารทวิษุวัต (ราววันที่ 23 กันยายน) ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39 % และพื้นน้ำ 61 % ประชากรราว 90 % ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ แผ่นดินส่วนใหญ่เป็นทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ กรีนแลนด์ เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มหาสมุทรที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่มหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติกราวครึ่งหนึ่ง และมหาสมุทรอินเดียบางส่วน จุดศูนย์กลางของซีกโลกเหนือคือขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นจุดตัดทิศเหนือระหว่างขั้วโลกกับพื้นผิวของโลก ส่วนขั้วแม่เหล็กเหนือจะแปรผันไปเหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ออโรราที่เกิดขึ้นในซีกโลกเหนือเรียกว่า aurora borealis หรือ แสงเหนือ ในภาษาไทย เนื่องจากแรงโคริออลิสจากการหมุนของโลก บริเวณความกดอากาศต่ำที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น เฮอร์ริเคนหรือไต้ฝุ่น จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ ซีกเหนือของดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะสามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มีซีกฟ้าเดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับระนาบไม่แปรผันของระบบสุร. หยี่ยวเพเรกริน (Peregrine falcon, Peregrine; ชื่อวิทยาศาสตร์Falco peregrinus เป็นนกล่าเหยื่อจำพวกเหยี่ยวชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์เหยี่ยวปีกแหลม (Falconidae) เหยี่ยวเพเรกริน เป็นนกที่บินได้เร็วมาก โดยทำความเร็วที่ได้ 321-563 กิโลเมตร/ชั่วโมง และทำความเร็วได้สูงที่สุดเมื่อพุ่งดิ่งลงจากที่สูง ถ้าบินระดับแนวนอนปกติ จะอยู่ที่ความเร็วประมาณ 80-90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่หากดิ่งลงมาจากที่สูงสามารถทำความเร็วได้ถึง 89-57 เมตร/วินาที เอาไปคิดเป็นจำนวนkg/Hr นับเป็นนกที่บินได้เร็วที่สุดในโลก และสามารถเพิ่มความเร็วได้ขณะบินได้ถึง 130 ไมล์/ชั่วโมง ด้วยเวลาไม่ถึง 1 วินาที ซึ่งถือว่าเร็วกว่า เสียอีก และนับเป็นสัตว์ที่มีความเร็วที่สุดในอาณาจักรสัตว์ทั้งหมด Deadly 60, สารคดีทาง True Explore 1. ทรูวิชั่นส์: ศุกร์ที่ 4 มกราคม 2555 ซึ่งในความเร็วระดับนี้ ลมจะเข้าไปในโพรงจมูกของเหยี่ยวเพเรกริน ซึ่งแรงพอที่จะทำให้สลบได้ แต่ในโพรงจมูกของเหยี่ยวเพเรกรินจะมีกระดูกอีกชั้นหนึ่งสำหรับกันลม เหยี่ยวเพเรกรินตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ โดยเฉลี่ยมีขนาดลำตัวประมาณ 34-58 เซนติเมตร (13–23 นิ้ว) และเมื่อกางปีกจะกว้างได้ถึง 74-120 เซนติเมตร (29–47 นิ้ว) เป็นนกที่กระจายพันธุ์ได้กว้างไกลในหลายพื้นที่ของโลก ล่านกและสัตว์ต่าง ๆ กินเป็นอาหาร โดยเฉพาะนกพิราบ มีความแตกต่างกันออกไปของสีขนและลักษณะขน ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้ถึง 16 ชนิด (ดูในตาราง) แต่โดยทั่วไป ส่วนหัวและแถบหนวดดำตัดกับข้างแก้มและคอสีขาวเป็นแถบใหญ่ สำหรับในประเทศไทย ชนิดย่อย F. p. japonensis มีลำตัวด้านบนเทาเข้ม ลำตัวด้านล่างขาว อกมีลายจุดเล็ก ๆ ลำตัวด้านล่างมีลายละเอียดต่อกันตามขวาง ขณะบินปีกกว้าง ปลายมนกว่าชนิดอื่น ๆ ใต้ปีกขาวมีลายดำหนาแน่นที่ขนคลุมใต้ปีก ชนิดย่อย F. p. peregrinator ลำตัวด้านล่างแกมน้ำตาลแดง และชนิดย่อย F. p. ernesti พบในพื้นที่ภาคใต้ มีแก้มสีดำ หัวและลำตัวสีคล้ำมาก อกค่อนข้างเรียบ มีลายขวางหนาแน่นที่ท้องทำให้ลำตัวด้านล่างเป็นสีดำ ขณะที่ยังเป็นวัยอ่อนมีลายขีดที่อกและท้อง ลำตัวด้านบนแกมน้ำตาลมากกว่านกเต็มวัย ในชนิดย่อย F. p. peregrinator อกและท้องลาย แซมด้วยสีน้ำตาลแดงถึงท้องด้านล่าง ในประเทศไทย มีถิ่นอาศัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ในบริเวณพื้นที่เปิดโล่ง, ชายฝั่งทะเล, หน้าผา หรือที่ราบถึงความสูง 2,565 เมตร จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง โดยถือเป็นนกอพยพที่หายากชนิดหนึ่ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซีกโลกเหนือและเหยี่ยวเพเรกริน

ซีกโลกเหนือและเหยี่ยวเพเรกริน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซีกโลกเหนือและเหยี่ยวเพเรกริน

ซีกโลกเหนือ มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ เหยี่ยวเพเรกริน มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (40 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซีกโลกเหนือและเหยี่ยวเพเรกริน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »