โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซีกโลกตะวันตกและพาสตา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซีกโลกตะวันตกและพาสตา

ซีกโลกตะวันตก vs. พาสตา

ซีกโลกตะวันตก ซีกโลกตะวันตกเป็นคำทางภูมิศาสตร์หมายถึง ครึ่งหนึ่งของโลกที่อยู่ทางตะวันตกของเส้นเมริเดียนแรก (ลากผ่านกรีนิช สหราชอาณาจักร) และทางตะวันออกของเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา (แอนติเมอริเดียน) ส่วนอีกครึ่งหนึ่งเรียก ซีกโลกตะวันออก ในความหมายนี้ ซีกโลกตะวันตกประกอบด้วยทวีปอเมริกา ส่วนตะวันตกของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปลายสุดฝั่งตะวันออกของประเทศรัสเซีย ดินแดนต่าง ๆ ในโอเชียเนียและบางส่วนของแอนตาร์กติกา แต่ไม่รวมบางส่วนของหมู่เกาะอะลูเชียนที่อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐอะแลสกา ในความพยายามนิยามซีกโลกตะวันตกว่าเป็นส่วนของโลกซึ่งมิใช่ส่วนหนึ่งของโลกเก่า ยังมีการใช้เส้นเมอริเดียนที่ 20 องศาตะวันตก และเส้นเมอริเดียนที่ 160 องศาตะวันออกซึ่งอยู่ตรงข้ามนิยามซีกโลกตะวันตก. ตา (pasta) คือชื่อเรียกโดยรวมของอาหารอิตาลีประกอบด้วยเส้นที่ทำจากแป้งสาลี น้ำ ไข่ เกลือ และ น้ำมันมะกอก จากนั้นจึงนำมารีดเป็นแผ่นและตัดเป็นเส้น ทำให้สุกโดยการต้ม รับประทานกับซอสหลากหลายประเภท ที่มักมีส่วนประกอบหลักคือ น้ำมันมะกอก ผัก เครื่องเทศ และเนยแข็ง เส้นพาสตาเป็นชื่อเรียกโดยรวมของเส้นหลากหลายประเภท ในสมัยก่อนพาสตานั้นเป็นอาหารที่ชาวอิตาลีทางตอนใต้นิยมรับประทาน ซึ่งนับว่ายากจนกว่าชาวอิตาลีทางตอนเหนือ ซึ่งนิยมรับประทานนมเนย และข้าว ปัจจุบันมีการผลิตเส้นสำเร็จรูปแบบอบแห้งในลักษณะอุตสาหกรรม ถูกใช้แพร่หลายมากกว่าเส้นแบบสดเนื่องจากสะดวกไม่ต้องใช้เวลาและความชำนาญมากในการจัดเตรียม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซีกโลกตะวันตกและพาสตา

ซีกโลกตะวันตกและพาสตา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซีกโลกตะวันตกและพาสตา

ซีกโลกตะวันตก มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ พาสตา มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (15 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซีกโลกตะวันตกและพาสตา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »