โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซีกสมองและภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซีกสมองและภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ

ซีกสมอง vs. ภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ

ซีกสมอง หรือ ซีกสมองใหญ่' (cerebral hemisphere, hemispherium cerebri) เป็นคู่ของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ที่แยกออกจากกันโดยระนาบแบ่งซ้ายขวา คือ medial longitudinal fissure (ช่องตามยาวแนวกลาง) ดังนั้น จึงพรรณนาสมองได้ว่าแบ่งออกเป็นสมองซีกซ้าย (left cerebral hemisphere) และสมองซีกขวา (right cerebral hemisphere) สมองแต่ละซีกมีชั้นด้านนอกเป็นเนื้อเทาที่เรียกว่าเปลือกสมอง (cerebral cortex) มีชั้นด้านในเป็นเนื้อขาวที่พยุงรับชั้นด้านนอก. วะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ stereognosis ว่า "การรับรู้สัณฐานโดยคลำ" (Astereognosis หรือเรียกว่า tactile agnosia ถ้าเป็นเพียงแค่มือเดียว) เป็นความไม่สามารถที่จะระบุวัตถุโดยการลูบคลำด้วยมืออย่างเดียว โดยไม่ใช้ความรู้สึกทางอื่น ๆ เช่นทางตาช่วย บุคคลมีภาวะนี้ ไม่สามารถระบุวัตถุต่าง ๆ โดยเพียงแค่จับต้องได้ แม้ว่า ความรู้สึกที่มือจะเป็นปกติ คือ ถ้าปิดตา คนไข้ไม่สามารถระบุสิ่งที่อยู่ในมือได้ นี้ตรงข้ามกับ ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา (visual agnosia) ซึ่งคนไข้ไม่สามารถระบุวัตถุโดยใช้สายตาเพียงอย่างเดียวได้ ส่วนคนไข้ภาวะ tactile agnosia (แปลว่าไม่รู้สัมผัส) อาจจะสามารถระบุชื่อ ประโยชน์ และความเป็นมาของวัตถุที่อยู่ในมือข้างซ้าย แต่บอกไม่ได้ด้วยมือข้างขวา หรือว่าในนัยตรงข้าม หรือว่าไม่สามารถบอกได้ด้วยทั้งสองมือ ภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ (astereognosis) มุ่งหมายเอาคนไข้เหล่านั้นที่ไม่สามารถระบุวัตถุด้วยมือทั้งสอง แม้ว่า คนไข้อาจจะสามารถระบุรูปร่างทั่วไปเช่น เป็นรูปพีระมิด เป็นรูปร่างกลม ๆ แม้ว่าอาจจะมีความยากลำบากบ้าง แต่ก็จะไม่สามารถระบุวัตถุสามัญว่าคืออะไรโดยสัมผัส แม้ว่าวัตถุนั้นอาจมีลักษณะที่รู้ได้ง่ายและไม่เหมือนวัตถุอื่นเช่นซี่ของส้อม แต่คนไข้อาจจะแจ้งความรู้สึกถึงวัตถุโลหะยาวมีซี่หลายซี่แยกออกมาจากฐานเดียวกันในทิศทางเดียวกัน แต่ไม่สามารถระบุวัตถุว่าคือส้อม อาการต่าง ๆ เหล่านี้บอกเป็นนัยว่า มีส่วนในสมองโดยเฉพาะที่ทำความสัมพันธ์ระหว่างตัวกระตุ้นทางสัมผัสต่าง ๆ กับหน้าที่หรือความเกี่ยวข้องต่อกันและกันของตัวกระตุ้นเหล่านั้น เพราะมีความเป็นไปที่เฉพาะเจาะจงอย่างนี้ และเพราะความที่สภาวะนี้มีผลเสียหายค่อนข้างน้อยต่อคุณภาพชีวิตของคนไข้ จึงเป็นเหตุให้ไม่ค่อยมีรายงานและงานวิจัยเกี่ยวกับคนไข้ที่มีภาวะนี้ ภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำมีความสัมพันธ์กับรอยโรคในสมองกลีบข้าง (parietal lobe), หรือ dorsal column, หรือส่วนสมองที่อยู่ติดกันของสมองกลีบข้าง สมองกลีบขมับ (temporal lobe) และสมองกลีบท้ายท้อย (occipital lobe) ที่เป็นจุดเชื่อมที่เรียกว่า เขตสัมพันธ์ด้านหลัง (posterior association areas) ในซีกสมองซีกใดซีกหนึ่ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซีกสมองและภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ

ซีกสมองและภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ซีกสมอง

ซีกสมอง

ซีกสมอง หรือ ซีกสมองใหญ่' (cerebral hemisphere, hemispherium cerebri) เป็นคู่ของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ที่แยกออกจากกันโดยระนาบแบ่งซ้ายขวา คือ medial longitudinal fissure (ช่องตามยาวแนวกลาง) ดังนั้น จึงพรรณนาสมองได้ว่าแบ่งออกเป็นสมองซีกซ้าย (left cerebral hemisphere) และสมองซีกขวา (right cerebral hemisphere) สมองแต่ละซีกมีชั้นด้านนอกเป็นเนื้อเทาที่เรียกว่าเปลือกสมอง (cerebral cortex) มีชั้นด้านในเป็นเนื้อขาวที่พยุงรับชั้นด้านนอก.

ซีกสมองและซีกสมอง · ซีกสมองและภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซีกสมองและภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ

ซีกสมอง มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.63% = 1 / (29 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซีกสมองและภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »