โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซิลิคอนแวลลีย์และสารกึ่งตัวนำ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซิลิคอนแวลลีย์และสารกึ่งตัวนำ

ซิลิคอนแวลลีย์ vs. สารกึ่งตัวนำ

มืองซานโฮเซที่ประกาศตัวเองว่าเป็นเมืองหลวงของซิลิคอนแวลลีย์ ซิลิคอนแวลลีย์ (Silicon Valley) เป็นคำที่ใช้เรียกส่วนใต้ของพื้นที่อ่าวซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีจุดเด่นที่เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของบริษัทเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดของโลก from SiliconValley.com นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านเทคโนโลยีและธุรกิจอีกด้วย ชื่อซิลิคอนแวลลีย์นั้นหมายถึงผู้บุกเบิกและผู้ผลิตซิลิคอนชิปจำนวนมากในบริเวณดังกล่าว แต่ได้กลายมาเป็นหมายถึงธุรกิจไฮเทคทั้งหมดในพื้นที่แทน ปัจจุบันมักใช้เป็นนามนัยแทนภาคไฮเทคของสหรัฐอเมริกา แม้การพัฒนาศูนย์เศรษฐกิจไฮเทคอื่น ๆ ทั่วสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก ซิลิคอนแวลลีย์ยังคงเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมและการพัฒนาไฮเทคชั้นนำ คิดเป็นหนึ่งในสามของมูลค่าการร่วมลงทุนทั้งหมดในสหรัฐอเมริกา from PriceWaterhouseCoopers.com และยังคงเป็นที่ที่มีการเติบโตและเป็นที่สนใจของผู้คนหลากหลาย ทั้งผู้ประกอบการธุรกิจ นักลงทุน และแรงงานในตลาดงานสายเทคโนโลยี ในทางภูมิศาสตร์ ซิลิคอนแวลลีย์ครอบคลุมพื้นที่หุบเขาซานตาคลาราทั้งหมด รวมทั้งนครซานโฮเซ (และชุมชนติดกัน), คาบสมุทรทางใต้, และอ่าวตะวันออกทางใต้. รกึ่งตัวนำ (semiconductor) คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เป็นวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ มักมีตัวประกอบของ germanium, selenium, silicon วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อไฟฟ้าก้ำกึ่งระหว่างโลหะกับอโลหะหรือฉนวน ความเป็นตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็มี เช่น ธาตุเจอร์เมเนียม ซิลิคอน ซีลีเนียม และตะกั่วเทลลูไรด์ เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งปวง ที่อุณหภูมิ ศูนย์ เคลวิน วัสดุพวกนี้จะไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่านเลย เพราะเนื้อวัสดุเป็นผลึกโควาเลนต์ ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งหลายจะถูกตรึงอยู่ในพันธะโควาเลนต์หมด (พันธะที่หยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม) แต่ในอุณหภูมิธรรมดา อิเล็กตรอนบางส่วนมีพลังงาน เนื่องจากความร้อนมากพอที่จะหลุดไปจากพันธะ ทำให้เกิดที่ว่างขึ้น อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเป็นสาเหตุให้สารกึ่งตัวนำ นำไฟฟ้าได้เมื่อมีมีสนามไฟฟ้ามาต่อเข้ากับสารนี้ สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ เป็นสารที่เกิดขึ้นจากการเติมสารเจือปนลงไปในสารกึ่งตัวนำแท้ เช่น ซิลิกอน หรือเยอรมันเนียม เพื่อให้ได้สารกึ่งตัวนำที่มีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้น สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สารกึ่งตัวนำประเภทเอ็น (N-Type) และสารกึ่งตัวนำประเภทพี (P-Type).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซิลิคอนแวลลีย์และสารกึ่งตัวนำ

ซิลิคอนแวลลีย์และสารกึ่งตัวนำ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซิลิคอนแวลลีย์และสารกึ่งตัวนำ

ซิลิคอนแวลลีย์ มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ สารกึ่งตัวนำ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซิลิคอนแวลลีย์และสารกึ่งตัวนำ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »