โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซินท์ป็อปและโพสต์พังก์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซินท์ป็อปและโพสต์พังก์

ซินท์ป็อป vs. โพสต์พังก์

ซินท์ป็อป หรือบางครั้งเรียกว่า เทคโนป็อป (techno-pop). ต์พังก์ (post-punk) เป็นแนวพังก์ร็อกที่เกิดขึ้นปลายทศวรรษที่ 70 เกิดขึ้นหลังพังค์ร็อกได้รับความนิยมในทศวรรษที่ 70 มีการหยิบซาวนด์มาทดลองมากกว่า อย่างเช่น ซาวนด์ของอิเล็กทรอนิกส์ เร้กเก้ แอฟริกันบีต แจ๊ส โฟล์ค เข้าไปใช้ โพสต์พังก์ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณปี 1977-1984 อย่าง ทอล์คกิ้ง เฮด เป็นต้น วงโพสต์พังก์รุ่นใหม่ เช่น เดอะ ฟิวเจอร์เฮดส์, ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์, เดอะ สโตรคส์ เป็นต้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซินท์ป็อปและโพสต์พังก์

ซินท์ป็อปและโพสต์พังก์ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ดิสโก้แกลมร็อกเคราต์ร็อกเครื่องสังเคราะห์เสียง

ดิสโก้

ก้ (Disco) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่ง สาขาย่อยของดนตรีแดนซ์ซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ที่ผสมผสานแนวฟังก์กับโซลเข้าด้วยกัน ดิสโก้ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วยยุคคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ตอนกลางถึงปลาย ศิลปินแนวดิสโก้ที่ได้รับความนิยมในยุคนั้น เช่น ดอนนา ซัมเมอร์, เดอะแจ็กสันไฟฟ์, แบร์รี ไวต์, บีจีส์, บอนนี เอ็ม. และแอ็บบ้า เป็นต้น ดิสโก้ได้ลดความนิยมไปในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980.

ซินท์ป็อปและดิสโก้ · ดิสโก้และโพสต์พังก์ · ดูเพิ่มเติม »

แกลมร็อก

แกลมร็อก (Glam rock) เป็นดนตรีร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในสหราชอาณาจักรในต้นทศวรรษที่ 1970s ซึ่งนักร้องและวงดนตรีมักจะนิยมในการ "แต่งหน้า" "ทำผม" และแต่งตัวด้วยชุดที่ดูแปลกประลาด แกลมร็อกที่เป็นที่รู้จักและมีชื่อดังอย่างเช่น เดวิด โบวี, หมวดหมู่:ดนตรีร็อก หมวดหมู่:เพศภาวะ.

ซินท์ป็อปและแกลมร็อก · แกลมร็อกและโพสต์พังก์ · ดูเพิ่มเติม »

เคราต์ร็อก

ราต์ร็อก (Krautrock) เป็นดนตรีในรูปแบบดนตรีทดลองที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 ในประเทศเยอรมนี ได้รับความนิยมคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอังกฤษ โดยดีเจจอห์น พีล จากบีบีซีได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เผยแพร่ให้เคราต์ร้อกได้รับความนิยม นอกประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน เคราต์ร็อกเป็นการแนวเพลงรวมหลายแนวเพลง โดยมักจะผสมเพลงการแจมกันแบบโพสต์-ไซเคเดลิกของชาวแองโกลอเมริกัน และโพรเกรสซีฟร็อก รวมเข้ากับการเพลงทดลองคลาสสิกร่วมสมัย (โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากนักประพันธ์ คาร์ลไฮนซ์ สต็อกเฮาเซน เป็นต้น) และจากทิศทางการทดลองแบบใหม่ ที่ปรากฏในเพลงแจ๊ซช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 (อย่างฟรีแจ๊ซ โดยออร์เนตต์ โคลแมน หรืออัลเบิร์ต ไอเลอร์) ที่ตีห่างจากโครงสร้างรูปแบบทั่วไปของเพลงและเมโลดี้ที่ร็อกมากขึ้นในเพลงเคราต์ร็อกในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ และยังมีบางกระแสที่ใช้เครื่องดนตรีและซาวน์อีเลกโทรนิกมากขึ้น ลักษณะโดยหลักของเพลงนี้คือการรวมของกลุ่มเพลงใต้รูปแบบ การสังเคราะห์จังหวะของเพลงร็อกแอนด์โรลอเมริกัน แต่ค่อนไปทางเยอรมันหรือใช้แหล่งดนตรีอื่น ลายเซ็นดนตรีของเพลงเคราต์ร็อก คือกรวมดนตรีเพลงร็อก และเครื่องดนตรีของวงร็อกอย่างกีตาร์ เบส กลอง เข้ากับเครื่องดนตรีอีเลกโทรนิก และทำให้เสียงมีความหยาบละเอียด โดยมากมักหมายถึงความรู้สึกแบบดนตรีแอมเบียนต์ จังหวะทั่วไปของดนตรี จะใช้จังหวะแน่นอน 4/4 มักจะเรียกว่า "โมโตริก" (motorik) จากสื่อประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ.

ซินท์ป็อปและเคราต์ร็อก · เคราต์ร็อกและโพสต์พังก์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสังเคราะห์เสียง

Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.

ซินท์ป็อปและเครื่องสังเคราะห์เสียง · เครื่องสังเคราะห์เสียงและโพสต์พังก์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซินท์ป็อปและโพสต์พังก์

ซินท์ป็อป มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ โพสต์พังก์ มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 9.76% = 4 / (19 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซินท์ป็อปและโพสต์พังก์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »