โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซิตี้ฮันเตอร์และเซนต์เซย์ย่า

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซิตี้ฮันเตอร์และเซนต์เซย์ย่า

ซิตี้ฮันเตอร์ vs. เซนต์เซย์ย่า

ซิตี้ฮันเตอร์ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องและภาพโดย ซึกาสะ โฮโจ ตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นโดยสำนักพิมพ์ชูเอชะ ตีพิมพ์ในประเทศไทยโดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ รวม 35 เล่ม ส่วนเล่มที่ถูกตีพิมพ์อีกครั้งในรูปแบบเวอร์ชันฉบับสมบูรณ์ (Complete Edition) มี 32 เล่มกับเล่มพิเศษ illustration อีก 3 เล่มก็คือ illustration X, illustration Y และ illustration Z รวมทั้งหมด 35 เล่มของเวอร์ชันฉบับสมบูรณ์ ต่อมาถูกนำมาทำเป็นแอนิเมชันซีรีส์ โดยซันไรส์ ในปีพ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531 จำนวน 51 ตอน, ในปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2532 จำนวน 63 ตอน, ในปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2533 จำนวน 13 ตอน และในปี พ.ศ. 2534 จำนวน 13 ตอน ทำเป็นอะนิเมะฟิล์มและตอนพิเศษจำนวน 4 ตอนก็คือ City Hunter.357 Magnum ในปีพ.ศ. 2532"อะนิเมะฟิล์ม", City Hunter The Secret Service ในปีพ.ศ. 2539"ตอนพิเศษ", City Hunter The Motion Picture ในปีพ.ศ. 2540"ตอนพิเศษ" และ City Hunter Death of the Vicious Criminal Ryo Saeba (Death of Evil Ryo Saeba) ในปี พ.ศ. 2542 "ตอนพิเศษ" และทำเป็นโอวีเอจำนวน 2 ตอนในปีพ.ศ. 2533 ก็คือ City Hunter Bay City Wars และ City Hunter Million Dollar Conspiracy. ซนต์เซย์ย่า เป็นชื่อของหนังสือการ์ตูน ซึ่งแต่งขึ้นโดย มาซามิ คุรุมาดะ ซึ่งใช้กลุ่มดาวม้าบินมาเป็นตัวเอกของเรื่อง เนื่องจากม้าบินกำลังอยู่ในท่าทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า ตรงกับภาพลักษณ์ของตัวเอกที่เขาได้คิดไว้นั่นเอง โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กหนุ่ม 5 คนที่เรียกว่า เซนต์ (saint) ต่อสู้โดยใช้ร่างกายของตนเองเป็นอาวุธเพื่อปกป้องคิโดะ ซาโอริ ผู้เป็นอวตารของเทพีอะธีนา และต่อสู้กับทัพศัตรูแห่งความชั่วร้าย ในโลกร่วมสมัยที่มีบรรยากาศของเทพปกรณัมกรีก ในประเทศญี่ปุ่น เซนต์เซย์ย่าลงตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ และออกเป็นหนังสือรวมเล่มจำนวน 28 เล่มจบ ส่วนในประเทศไทย สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจได้รับสิทธิ์ในการตีพิมพ์ฉบับรวมเล่ม นอกจากภาคหลักแล้ว เซนต์เซย์ย่ายังได้รับการแต่งภาคเสริมขึ้นอีกหลายภาคด้วยกัน ได้แก่ ภาค Episode G, Next Dimension และ The Lost Canvas เซนต์เซย์ย่าถูกสร้างขึ้นในรูปแบบของอะนิเมะ และออกฉายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยบริษัท โตเอแอนิเมชัน ซึ่งได้รับกระแสตอบรับที่ดีจนได้ออกอากาศติดต่อกันนานเกือบ 3 ปี นอกจากนี้ยังได้แพร่ภาพทางโทรทัศน์ในประเทศต่าง ๆ อีกหลายประเทศ ทั้งในแถบเอเชียด้วยกัน เช่น ประเทศจีน ฮ่องกง สิงคโปร์ ประเทศแถบยุโรป สหรัฐอเมริกา ละตินอเมริกา รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งมีการนำเซนต์เซย์ย่ามาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2531 ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยใช้ชื่อว่า "เซย่า เทพบุตรหมัดดาวหาง" จากนั้นก็ได้ออกอากาศซ้ำอีกในปี พ.ศ. 2547 ทางสถานีโทรทัศน์ยูบีซี (ทรูวิชั่นส์ ในปัจจุบัน) และมีการนำออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีโดย บริษัท การ์ตูนอินเตอร์ จำกัด ด้วย นอกจากนี้เซนต์เซย์ย่ายังได้รับการดัดแปลงเป็นสื่อในรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ภาพยนตร์ ละครเวที เกม และของเล่นต่าง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซิตี้ฮันเตอร์และเซนต์เซย์ย่า

ซิตี้ฮันเตอร์และเซนต์เซย์ย่า มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชูเอชะพ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชันซันไรส์โชเน็งโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์โอวีเอ

ชูเอชะ

อาคารที่ตั้งสำนักพิมพ์ชูเอชะ สำนักพิมพ์ชูเอชะ เป็นสำนักพิมพ์นิตยสาร และหนังสือการ์ตูนชื่อดังของประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ โตเกียว โดยมีหนังสือการ์ตูนที่ตีพิมพ์เมืองไทยมากมาย นอกจากหนังสือการ์ตูนแล้ว ชูเอชะยังตีพิมพ์นิตยสารอื่นรวมถึง นิตยสารผู้ชายเพลย์บอยฉบับภาษาญี่ปุ่น.

ชูเอชะและซิตี้ฮันเตอร์ · ชูเอชะและเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ซิตี้ฮันเตอร์และพ.ศ. 2530 · พ.ศ. 2530และเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ซิตี้ฮันเตอร์และพ.ศ. 2531 · พ.ศ. 2531และเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ซิตี้ฮันเตอร์และพ.ศ. 2532 · พ.ศ. 2532และเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ซิตี้ฮันเตอร์และพ.ศ. 2533 · พ.ศ. 2533และเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ซิตี้ฮันเตอร์และพ.ศ. 2534 · พ.ศ. 2534และเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ซิตี้ฮันเตอร์และพ.ศ. 2535 · พ.ศ. 2535และเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน

ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น เรียกอย่างย่อว่า เริ่มออกอากาศเมื่อ พ.ศ. 2500 ภายใต้ชื่อ สถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาแห่งประเทศญี่ปุ่น (ชื่อย่อ:NET) จนกระทั่ง พ.ศ. 2520 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ทีวีอะซะฮิ จนถึงปัจจุบัน.

ซิตี้ฮันเตอร์และทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน · ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชันและเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

ซันไรส์

ซันไรส์ (Sunrise, Inc.) เป็นบริษัทผลิตอะนิเมะของญี่ปุ่น เป็นบริษัทลูกของ Namco Bandai Holdings ในตอนแรกซันไรส์มีชื่อว่า นิปปง ซันไรส์ (Nippon Sunrise) และต่อมาคือ ซันไรส์ สตูดิออส (Sunrise Studios) ก่อตั้งเมื่อ..

ซันไรส์และซิตี้ฮันเตอร์ · ซันไรส์และเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

โชเน็ง

น็น แปลว่า "หนุ่มน้อย" ซึ่งหมายถึงผู้ชายอายุไม่เกิน 18 ปี ภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำว่าโชเน็งถูกใช้เป็นคำเรียกการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีเด็กวัยรุ่นชายเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ตัวอย่างการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็งที่มีชื่อเสียง ได้แก่ เซนต์เซย์ย่า ดราก้อนบอล ชาแมนคิง วันพีซ กินทามะ นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ และ มุซาชิ การ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็งส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการต่อสู้ (ไม่ว่าจะเป็นการรบราฆ่าฟันหรือการต่อสู้ในสนามกีฬา) และมักมีการแทรกมุขตลกเพื่อไม่ให้เรื่องหนักเกินไป ตัวละครหลักโดยมากเป็นผู้ชาย และมิตรภาพระหว่างตัวละครชายมักเป็นจุดสำคัญของเรื่อง ตัวละครหญิงในเรื่องส่วนมากจะมีหน้าตาและรูปร่างสวยงามเกินความเป็นจริง สไตล์ในการวาดภาพของการ์ตูนแนวโชเน็งจะไม่หวานแหววและละเอียดอ่อนเหมือนกับการ์ตูนแนวโชโจ การ์ตูนแนวโชเน็งหลายๆ เรื่องมีกลุ่มผู้ติดตามหญิงที่นำเนื้อเรื่องและตัวละครในเรื่องไปเขียนโดจินชิและแฟนฟิกชั่นแนวยาโออิและโชตะคอน.

ซิตี้ฮันเตอร์และโชเน็ง · เซนต์เซย์ย่าและโชเน็ง · ดูเพิ่มเติม »

โชเน็งจัมป์รายสัปดาห์

น็งจัมป์รายสัปดาห์ (Weekly Shōnen Jump) หนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์ที่ขายดีที่สุดของประเทศญี่ปุ่น ยอดจำหน่ายมากกว่า 3 ล้านเล่ม โชเน็งจัมป์จำหน่ายรายสัปดาห์ในประเทศญี่ปุ่น และจำหน่ายรายเดือนในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ตลาดเป้าหมายหลักของโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์อยู่ที่เด็กผู้ชาย (โชเน็ง แปลว่า เด็กชาย หรือผู้ชาย) เนื้อหาภายในหนังสือการ์ตูนจะเป็นลักษณะการต่อสู้ และการผจญภัย โดยตัวละครหลักจะมีพลังพิเศษต่างๆ โชเน็งจัมป์เริ่มตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2511 โดยบริษัทชูเอชะ เคยมียอดจำหน่ายสูงถึง 6 ล้านเล่ม โชเน็งจัมป์ได้มีนำมาจำหน่ายภายใต้ชื่อโชเนนจัมป์ ในสหรัฐอเมริกา เยอรมัน สวีเดน นอร์เวย์ และการ์ตูนหลายเรื่องภายในเล่มได้มีการนำมาแปลและจำหน่ายในหลายประเทศในทวีปเอเชีย รวมทั้งประเทศเกาหลีใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน และไทย ช่วงกลางปีทศวรรษ 1980 ถึงกลางทศวรรษ 1990 เป็นยุคที่นิตยสารมีอัตราการเติบโตไหลเวียนสูงที่สุด อย่างไรก็ตามการเติบโตนั้นก็ได้ลดลงอย่างมากในเวลาต่อมาเมื่อเข้าทศวรรษ 2000.

ซิตี้ฮันเตอร์และโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ · เซนต์เซย์ย่าและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

โอวีเอ

ออริจินอลวิดีโอแอนิเมชัน (Original Video Animation) หรือย่อว่า โอวีเอ (OVA) เป็นชื่อเรียกภาพยนตร์แอนิเมชัน (ที่เรียกว่า อะนิเมะ) สำหรับนำมาสำหรับเป็นวิดีโอหรือดีวีดีโดยตรง โดยไม่ออกฉายทางโทรทัศน์หรือโรงภาพยนตร์ก่อน มีลักษณะคล้ายหนังแผ่นในประเทศไทย ถ้ามีการผลิตภาพยนตร์ที่ใช้คนแสดงออกมาจำหน่าย โอวีเอเริ่มในต้นช่วง..

ซิตี้ฮันเตอร์และโอวีเอ · เซนต์เซย์ย่าและโอวีเอ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซิตี้ฮันเตอร์และเซนต์เซย์ย่า

ซิตี้ฮันเตอร์ มี 33 ความสัมพันธ์ขณะที่ เซนต์เซย์ย่า มี 179 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 5.66% = 12 / (33 + 179)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซิตี้ฮันเตอร์และเซนต์เซย์ย่า หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »