โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซาลามังกาและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซาลามังกาและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

ซาลามังกา vs. มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

ซาลามังกา (Salamanca) เป็นเมืองหลักของจังหวัดซาลามังกาในแคว้นกัสติยาและเลออน ทางภาคตะวันตกของประเทศสเปน ตั้งอยู่บนที่ราบสูงริมแม่น้ำตอร์เมส ซึ่งมีสะพานข้ามแห่งหนึ่งสูง 150 เมตร สร้างบนส่วนโค้ง (arch) 26 ชิ้นส่วน โดย 15 ชิ้นส่วนนั้นสร้างขึ้นในสมัยโรมัน ส่วนที่เหลือสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปัจจุบัน (ค.ศ. 2005) ซาลามังกามีประชากร 160,331 คน ซาลามังกาตั้งขึ้นก่อนสมัยโรมโบราณโดยชาวเคลติเบเรียนเผ่าหนึ่งชื่อ วักไกอี (Vaccaei) โดยเป็นหนึ่งในสองป้อมปราการที่สร้างขึ้นเพื่อป้องกันดินแดนของพวกเขาใกล้แม่น้ำดวยโร ต่อมาในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวคาร์เทจซึ่งนำโดยฮันนิบาลได้เข้าจู่โจมและยึดครองเมืองนี้ จนกระทั่งคาร์เทจสูญเสียอำนาจในคาบสมุทรไอบีเรียให้กับสาธารณรัฐโรมัน เมืองนี้จึงเริ่มมีความสำคัญมากขึ้นในฐานะศูนย์กลางการค้า ในสมัยโรมัน ซาลามังกามีชื่อเรียกว่า "ซัลมันตีกา" (Salmantica) หนึ่งในช่วงที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ของเมืองนี้คือปี ค.ศ. 1218 (พ.ศ. 1761) เมื่อพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 9 แห่งเลออนทรงก่อตั้งมหาวิทยาลัยซาลามังกาขึ้นที่เมืองนี้ และหลังจากนั้นไม่นานนัก มหาวิทยาลัยแห่งนี้ก็กลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางวิชาการที่สำคัญและมีชื่อเสียงมากที่สุดในยุโรป ในช่วงสงครามคาบสมุทร (ซึ่งนโปเลียนเข้ามาเกี่ยวข้อง) นั้น ยุทธการที่ซาลามังกาเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1812 (พ.ศ. 2355) เป็นความปราชัยครั้งสำคัญของกองทัพฝรั่งเศส และยังเป็นความสูญเสียครั้งใหญ่ของซาลามังกาด้วย เนื่องจากซีกตะวันตกของเมืองถูกโจมตีเสียหายอย่างหนัก. นักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเดสิเดอริอัส อีราสมัส ราว ค.ศ. 1523 เขียนโดยฮันส์ โฮลไบน์ (ผู้ลูก) มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance humanism) คือขบวนการทางปัญญาของยุโรปซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญตัวหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เริ่มขึ้นที่ฟลอเรนซ์ในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ขบวนการมนุษยนิยมเริ่มขึ้นเมื่อผู้คงแก่เรียนชาวยุโรปเริ่มพบวรรณกรรมภาษาลาตินและกรีกกันขึ้นมาใหม่ ในระยะแรกนักมนุษยนิยมก็เพียงแต่เป็นปัญญาชนหรือครูที่สองวรรณกรรมภาษาลาติน แต่เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 มนุษยนิยมก็พัฒนาขึ้นมาเป็นหลักสูตรการศึกษา — “หลักสูตรการศึกษามนุษยนิยม” (studia humanitatis) — ที่ประกอบด้วยการศึกษาไวยากรณ์, วาทศาสตร์, ปรัชญาจริยธรรม, กวีนิพนธ์ และประวัติศาสตร์ จากงานที่เขียนโดยผู้ประพันธ์เป็นภาษาลาตินและกรีก นักมนุษยนิยมมักจะเป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการปรัชญาที่นิยมกันก่อนหน้านั้นที่เรียกว่าอัสสมาจารย์นิยม (Scholasticism) ซึ่งเป็น “ผู้ร่ำเรียน” (schoolmen) ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในอิตาลี, ปารีส, อ๊อกซฟอร์ด และอื่นๆ การศึกษาของกลุ่มอัสสมาจารย์นิยมพัฒนามาจากความสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์และปรัชญาของกรีกโบราณและอาหรับยุคกลาง ตัวอย่างของผู้นำในกลุ่มนี้ก็ได้แก่ทอมัส อควีนาสผู้ที่พยายามสังเคราะห์ปรัชญาของอริสโตเติลในบริบทของลัทธิคาทอลิก แต่แตกต่างจากหลักของมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ก็ตรงที่นักอัสสมาจารย์นิยมมิได้พึ่งวรรณกรรม หรือ ตำราประวัติศาสตร์จากสมัยกรีกโรมันเท่ากันกับเมื่อมาถึงสมัยมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ การกลับมาพบและกลับมาให้ความสนใจกับวรรณกรรม และ ตำราประวัติศาสตร์, วาทศิลป์ และ เทวปรัชญาที่ยังไม่ได้รับการศึกษาโดยนักปรัชญาอัสสมาจารย์นิยม ทำให้มนุษยนิยมเรอเนสซองซ์เปลี่ยนแนวทางทางวัฒนธรรมและทางปรัชญาของยุโรปอย่างสิ้นเชิง ทางด้านปรัชญานักมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์มักจะเน้นบทเขียนของเพลโต ที่บางชิ้นนำกลับมาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่เริ่มเสื่อมโทรมลงเป็นครั้งแรก และให้ความสนใจน้อยกว่าในปรัชญาของอริสโตเติลที่ได้รับการศึกษาอย่างลึกซึ้งแล้วโดยนักอัสสมาจารย์นิยมในระหว่างยุคกลางตอนกลางแล้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซาลามังกาและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

ซาลามังกาและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ซาลามังกาและทวีปยุโรป · ทวีปยุโรปและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซาลามังกาและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

ซาลามังกา มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.70% = 1 / (24 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซาลามังกาและมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »