โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซานซีโรและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซานซีโรและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ซานซีโร vs. ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ซานซีโร หรือ สตาดีโอจูเซปเปเมอัซซา (San Siro หรือ Stadio Giuseppe Meazza) เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลอินเตอร์นาชีโอนาเล มีลาโน หรืออินเตอร์ มิลาน และ เอซี มิลาน สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1925 และเปิดใช้การเมื่อ 19 กันยายน ค.ศ. 1926 หรือเมื่อ.. ูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (UEFA Champions League; ชื่อเดิม: ยูโรเปียนคัพ; European Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างสโมสรต่าง ๆ ภายในทวีปยุโรป ซึ่งจัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เริ่มการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1955 ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันเมื่อปี ค.ศ. 1992 โดยทีมที่ได้อับดับที่ 1-3 ในแต่ละลีกจะได้ไปแข่งโดยอัตโนมัติ ส่วนที่ 4 จะได้ไปเพลย์ออฟรอบสุดท้ายทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมาตรฐานของแต่ละลีกเช่นกันจากการจัดอันดับคะแนนลีกของยูฟ่า ลักษณะของการแข่งขันรายการนี้จะเป็นการนำทีมที่มีคะแนนสะสมมากที่สุดของแต่ละลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปยุโรปมาแข่งขันกัน โดยพิจารณาออกมาเป็นโควตาของแต่ละลีก พรีเมียร์ลีกของอังกฤษ, ลาลีกาของสเปน และบุนเดสลีกาของเยอรมนีมีโควตาสี่ทีม ส่วนเซเรียอาของอิตาลีมีโควตาสามทีมเป็นต้น ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุดคือ เรอัลมาดริด (สเปน, 12 ครั้ง) อันดับสองคือ เอซีมิลาน (อิตาลี, 7 ครั้ง) อันดับสามคือ บาเยิร์นมิวนิก (เยอรมัน, 5 ครั้ง) โดยสโมสรที่ชนะเลิศ 3 สมัยติดต่อกันหรือชนะเลิศครบ 5 สมัย จะได้รับถ้วยรางวัลไปเป็นกรรมสิทธิ์ของสโมสร เช่นเดียวกับถ้วยรางวัลอื่น ๆ ของยูฟ่า โดยที่เรอัลมาดริดได้ไปเมื่อ ค.ศ. 1958, อายักซ์ (ค.ศ. 1973), บาเยิร์นมิวนิก (ค.ศ. 1976), เอซีมิลาน (ค.ศ. 1994) และลิเวอร์พูล (ค.ศ. 2005) บาเซโลน่า (ค.ศ. 2015) ปัจจุบันในฤดูกาล 2016-17 สโมสรที่ชนะเลิศคือ เรอัลมาดริด และเป็นแชมป์สมัยที่สิบสองในรายการนี้ โดยเอาชนะยูเวนตุสไป 4-1 ในช่วง 90 นาที ในนัดชิงชนะเลิศ 2017.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซานซีโรและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ซานซีโรและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มิลานมิลเลนเนียมสเตเดียมสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโนโอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน)เอซี มิลาน

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) โดยถ้ารวมบริเวณรอบนอกและเขตปริมณฑลจะมีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเรียกเขตทั้งหมดว่า ลากรันเดมีลาโน (La Grande Milano) มิลานมีพื้นที่ประมาณ 1,982 ตร.กม.

ซานซีโรและมิลาน · มิลานและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

มิลเลนเนียมสเตเดียม

มิลเลนเนียมสเตเดียม (Millennium Stadium) หรือในชื่อปัจจุบัน พรินซิพาลิตีสเตเดียม (Principality Stadium) ตามชื่อของผู้สนับสนุน สนามนี้เป็นสนามฟุตบอลแห่งชาติของประเทศเวลส์ ตั้งอยู่ในคาร์ดิฟฟ์ และเป็นสนามเหย้าของรักบี้ยูเนียนทีมชาติเวลส์ อีกทั้งยังใช้งานในการเป็นสนามเหย้าของฟุตบอลทีมชาติเวลส์ ด้วย ซึ่งสนามนี้สร้างมาสำหรับใช้งานใน รักบี้ชิงแชมป์โลก 1999 และได้ใช้งานในงานขนาดใหญ่อีกมากมาย เช่น สึนามิรีลีฟคอนเสิร์ต, ซูเปอร์สเปเชียลสเตจ, สปีดเวย์กรังด์ปรีซ์ออฟเกรตบริเตน และ งานคอนเสิร์ตอีกมากมาย อีกทั้งยังได้เป็นสนามแข่งขันเอฟเอคัพ รอบชิงชนะเลิศถึง 6 ครั้ง ในช่วงที่สนามกีฬาเวมบลีย์ กำลังปรับปรุงสนามอยู่ สนามแห่งนี้มีผู้ดูแลคือบริษัทมิลเลียนเนียมสเตเดียม ซึ่งเป็นบริษัทลูกของรักบี้ทีมชาติเวลส์ สนามได้รับการออกแบบโดยไบลจ์ลอบบ์สปอรตส์อาชิเทคเจอร์ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของปอปปูเลาส์, และ ดับเบิลยูเอสแอตคินส์ ซึ่งรับงานเป็นบริษัททางด้านการก่อสร้าง ส่วนทางด้านผู้รับเหมา คือบริษัทไลอิง โดยสนามนี้ใช้ค่าก่อสร้าง 121 ล้านปอนด์ ซึ่งเงินในส่วนนี้มาจากคณะกรรมการของมิลเลนเนียมคอมมิชชัน 46 ล้านปอนด์ มิลเลนเนียมสเตเดียม เปิดในเดือนมิถุนายน..

ซานซีโรและมิลเลนเนียมสเตเดียม · มิลเลนเนียมสเตเดียมและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน

มสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน (Football Club Internazionale Milano S.p.A.) หรือที่เรียกย่อว่า อินแตร์นาซีโอนาเล หรือ อินเตอร์มิลาน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1908 ตั้งอยู่ในเมืองมิลานในเขตลอมบาร์ดี ประเทศอิตาลี โดยเป็นสโมสรเดียวที่ไม่เคยตกชั้นจากเซเรียอา นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกสูงสุดในปี..

ซานซีโรและสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน · ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกและสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน · ดูเพิ่มเติม »

โอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน)

อลึมเพียชตาดิโยน (Olympiastadion แปลว่า สนามกีฬาโอลิมปิก) เป็นสนามกีฬาในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ออกแบบโดยอ็อทโท มาร์ช (Otto March) และลูกชายแวร์เนอร์ มาร์ช (Werner March) สถาปนิกชาวเยอรมัน สนามกีฬาก่อสร้างในปี ค.ศ. 1934-1936 และเปิดใช้งานในปี 1936 สำหรับกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เยอรมนีได้พ่ายแพ้ต่อสงคราม สหราชอาณาจักรได้ยึดส่วนหนึ่งของประเทศรวมถึงสนามกีฬา จนกระทั่งปี ค.ศ. 1994 จึงได้กลับมาเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง สนามกีฬานี้ได้จัดฟุตบอลโลก 2 ครั้งคือ ฟุตบอลโลก 1974 จัดแข่ง 3 นัด และในฟุตบอลโลก 2006 จัดแข่ง 6 นัดรวมถึงนัดชิงชนะเลิศ ในประเทศเยอรมนี มีสนามกีฬาอีกที่ที่ใช้ชื่อโอลึมเพียชตาดิโอนเช่นกัน คือ โอลึมเพียชตาดิโยน (มิวนิก) ตั้งอยู่ในเมืองมิวนิก ใช้จัดโอลิมปิกฤดูร้อน 1972.

ซานซีโรและโอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน) · ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกและโอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน) · ดูเพิ่มเติม »

เอซี มิลาน

มสรฟุตบอลมิลาน (Associazione Calcio Milan) หรือ เอซี มิลาน (A.C. Milan) เรียกสั้น ๆ ว่า มิลาน (ภาษาอิตาลีออกเสียงว่า มีลาน) หรือที่ฉายาในสื่อไทยเรียกว่า ปีศาจแดง-ดำ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในเมืองมิลาน แคว้นลอมบาร์ดี้ ประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1899 และเป็นหนึ่งในทีมฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดทีมหนึ่งในวงการฟุตบอลของยุโรปและของโลก โดยได้แชมป์ระดับเมเจอร์รวมทั้งหมดถึง 46 รายการ อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในทีมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในอิตาลี เช่นเดียวกับ ยูเวนตุส และอินเตอร์ นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกของกลุ่ม จี-14 ซึ่งเป็นกลุ่มของสโมสรฟุตบอลยักษ์ใหญ่ของทวีปยุโรปอีกด้วย เอซี มิลาน ใช้สนามซานซีโร หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สตาดีโอ จูเซ็ปเป เมอัซซา เป็นสนามที่ใช้ในการเล่นในฐานะเจ้าบ้าน ร่วมกับทีมคู่ปรับร่วมเมืองอย่างอินเตอร.

ซานซีโรและเอซี มิลาน · ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกและเอซี มิลาน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซานซีโรและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ซานซีโร มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก มี 146 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 3.18% = 5 / (11 + 146)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซานซีโรและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »