โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซันโยชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซันโยชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง

ซันโยชิงกันเซ็ง vs. โทไกโดชิงกันเซ็ง

ซันโย ชิงกันเซ็ง เป็นหนึ่งในเส้นทางให้บริการรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งในญี่ปุ่น เชื่อมต่อระหว่างชินโอซะกะในเมืองโอซะกะกับฮะกะตะในเมืองฟุกุโอะกะ ซึ่งเป็นสองเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันตกของประเทศญี่ปุ่น นอกจากนั้นยังเชื่อมต่อระหว่างเมืองใหญ่ๆของเกาะฮอนชูและคิวชูเข้าด้วยกัน เช่น โคเบะ ฮิเมะจิ โอกะยะมะ ฮิโระชิมะ และ คิตะกีวชู ดำเนินการโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก และยังเชื่อมต่อกับโทไกโด ชิงกันเซ็งที่วิ่งจากโอซะกะไปยังโตเกียวอีกด้วย ซันโย ชิงกันเซ็งนี้เชื่อมต่อระหว่างฮะกะตะกับโอซะกะโดยใช้เวลาเดินทางเพียง 2.5 ชั่วโมงเท่านั้น นับว่าเป็นหนึ่งในรถไฟโดยสารที่วิ่งเร็วที่สุดในโลกในขณะนี้ด้วยความเร็วประมาณ 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟโนะโซะมิบางขบวนยังให้บริการต่อเนื่องทั้งซันโยและโทไกโด ชิงกันเซ็ง ทำให้การเดินทางจากโตเกียวไปยังฮะกะตะนั้นใช้เวลาไม่ถึง 5 ชั่วโมงเท่านั้น ปัจจุบัน สถานีฮะกะตะ เป็นสถานีปลายทางของเครือข่ายชิงกันเซ็งทางด้านตะวันตก แต่ถ้าคีวชู ชิงกันเซ็งสร้างมาเชื่อมต่อกับซันโย ชิงกันเซ็งสำเร็จ ก็จะทำให้สามารถเดินทางจากสถานีฮะกะตะต่อไปยังคะโงะชิมะได้ คาดว่าจะแล้วเสร็จในฤดูใบไม้ผลิของปี 2011. | โทไกโด ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งเส้นทางแรก เปิดให้บริการในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซันโยชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง

ซันโยชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางชิงกันเซ็งชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์ฟุกุโอะกะ (เมือง)สถานีรถไฟชินโอซากะสถานีรถไฟฮากาตะฮิการิ (ขบวนรถไฟ)โอซากะโตเกียวโนโซมิ (ขบวนรถไฟ)1 ตุลาคม

บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง

ริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง เป็นหนึ่งในบริษัทในกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (JR Group) โดยมักใช้ชื่อเรียกอย่างย่อว่า JR ตอนกลาง ดำเนินการให้บริการรถไฟในภูมิภาคชูบุ (นะโงะยะ) ในปี..

ซันโยชิงกันเซ็งและบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง · บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

ชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง · ชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์

700 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ซึ่งมีสายการผลิตระหว่างปี..

ชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์และซันโยชิงกันเซ็ง · ชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์และโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฟุกุโอะกะ (เมือง)

นครฟูกูโอกะ เป็นเมืองเอกของจังหวัดฟุกุโอะกะ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะคีวชู ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2013 ฟุกุโอะกะได้รับการจัดอันดับว่าเป็นเมืองน่าอยู่อันดับ 12 ของโลก จากนิตยสาร Monocle จากการที่ในเขตตัวเมืองมีพื้นที่สีเขียวจำนวนมาก นอกจากนี้ฟุกุโอะกะยังเป็นเมืองที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่สุดในเกาะคีวชู ซึ่งรองลงมาคือนครคิตะกีวชู และยังถือเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตะวันตกจากเขตมหานครเคฮันชิง จากการที่เป็นเมืองขนาดใหญ่และมีความสำคัญ ทำให้ฟุกุโอะกะได้รับสถานะเป็นนครโดยรัฐบัญญัติ เมื่อ 1 เมษายน 1972 ด้วยประชากรในเขตเมืองและปริมณฑลรวมกว่า 2.5 ล้านคน (สำมะโนปี 2005) ซึ่งทั้งฟุกุโอะกะ–คิตะกีวชู ต่างเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมหนัก ซึ่งเป็นรายได้หลักของเมือง เมื่อกรกฎาคม 2011 ฟุกุโอะกะมีฐานะเป็นเมืองใหญ่อันดับ 6 ของญี่ปุ่น ซึ่งแซงหน้านครใหญ่อย่างเคียวโตะ นับเป็นครั้งแรกที่เมืองทางตะวันตกของภาคคันไซ สามารถมีประชากรมากกว่าเคียวโตะ นับตั้งแต่ก่อตั้งเมืองเคียวโตะเมื่อปี..

ซันโยชิงกันเซ็งและฟุกุโอะกะ (เมือง) · ฟุกุโอะกะ (เมือง)และโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินโอซากะ

| สถานีรถไฟชินโอซากะ เป็นสถานีรถไฟกลางของจังหวัดโอซากะ ตั้งอยู่ในเขตโยโดงาวะ ของนครโอซากะ สถานีรถไฟโอซากะแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกัน คือ ส่วนของรถไฟระหว่างเมือง และส่วนของรถไฟใต้ดิน ในส่วนของรถไฟระหว่างเมือง สถานีรถไฟโอซากะยังเป็นสถานีเปลี่ยนผ่านของรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็ง ชานชาลาทางทิศตะวันตกเป็นชานชาลาของชิงกันเซ็ง สายโทไกโด มีปลายทางที่กรุงโตเกียว ในขณะที่ชานชาลาทางทิศตะวันออกเป็นชิงกันเซ็ง สายซันโย มีปลายทางที่นครฟุกุโอะกะ สถานีรถไฟชินโอซากะ (หรือแปลคือ สถานีรถไฟโอซากะแห่งใหม่) ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟโอซากะเดิม 3 กิโลเมตร เปิดดำเนินการในปี..

ซันโยชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินโอซากะ · สถานีรถไฟชินโอซากะและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟฮากาตะ

นีรถไฟฮากาตะ เป็นสถานีรถไฟในนครฟุกุโอะกะ จังหวัดฟุกุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถานีรถไฟที่มีผู้ใช้บริการเยอะที่สุดในเกาะคีวชู มีรถไฟความเร็วสูงสายซันโย ชิงกันเซ็งเชื่อมกับเกาะฮนชู ซึ่งสามารถเดินทางไปยังโอซะกะและโตเกียวได้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้.

ซันโยชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟฮากาตะ · สถานีรถไฟฮากาตะและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮิการิ (ขบวนรถไฟ)

''ฮิการิเรลสตาร์'' ทำขบวนด้วยรุ่น 700 series ฮิการิ เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่น ให้บริการในเส้นทางโทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง รถไฟประเภทนี้วิ่งช้ากว่าขบวนโนโซมิ แต่ยังเร็วกว่าขบวนโคดามะ หากใช้สิทธิ์ตามบัตรผ่านรถไฟญี่ปุ่น ขบวนฮิการินี้จะเป็นรถไฟประเภทที่เร็วที่สุดที่ให้บริการบนเส้นทางโทไกโดและซันโยชิงกันเซ็ง เมื่อชิงกันเซ็งเปิดให้บริการในปี 1964 ฮิการิได้เป็นรถไฟที่เร็วที่สุดบนเส้นทางที่วิ่งจากโตเกียวไปยังสถานีชินโอซะกะ มีการหยุดรถเพียงแค่สองครั้งเท่านั้นคือที่นาโงยาและที่เกียวโต ต่อมา ฮิการิได้ขยายไปให้บริการบนซันโยชิงกันเซ็งแม้ว่ารถไฟฮิการิจะเร็วกว่าเพียงขบวนโคดามะเท่านั้น ทั้งคู่จึงได้รับฉายาสั้นๆร่วมกันว่า "ฮิดะมะ" บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางเป็นผู้ให้บริการฮิการิ ปัจจุบันนี้ใช้รถไฟขนาด 16 โบกี้ หลายซีรีส์ได้แก่ 700 ซีรีส์ และ 300 ซีรีส์ รถไฟฮิการิส่วนใหญ่จะหยุดตามสถานีต่างเช่น ชิซุโอะกะ, ไมบาระ หรือฮิเมะจิ เพื่อให้รถไฟที่เร็วกว่า เช่น ขบวนโนโซมิ วิ่งผ่านไปด้วยความเร็วสูงสุดก่อน ในเดือนมีนาคม ปี 2008 ขบวนฮิการิได้นำชิงกันเซ็ง N700 ซีรีส์ มาใช้สำหรับการเดินทางระหว่างสถานีชินโยโกะฮะมะและสถานีฮิโระชิมะ และสำหรับรถไฟเที่ยวดึกระหว่างสถานีโตเกียวและนาโงยา บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกเริ่มให้บริการฮิการิ เรล สตาร์ (Hikari Rail Star) ในปี 200 ซีรีส์0 โดยมีเฉพาะเส้นทางซันโยชิงกันเซ็งเท่านั้น โดยใช้รถไฟขบวนพิเศษขนาด 8 โบกี้ซีรีส์ 700 ซีรีส์ ที่มีความเร็วสูงสุด 285 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การที่บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกนำมาให้บริการนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับสายการบินที่บินอยู่ในเส้นทางโอซะกะไปยังฟุกุโอะกะ ที่นั่งที่สำรองเอาไว้บนรถไฟฮิการิ เรล สตาร์มีการจัดแบบ 2-2 แทนที่จะเป็น 3-2 เหมือนฮิการิทั่วๆไป และด้านหน้าของแต่ละที่นั่งนั้นจะมีจุดจ่ายไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาอีกด้วย ก่อนและระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2นั้น ฮิการิเคยเป็นชื่อของรถไฟด่วนที่วิ่งจากปูซาน ประเทศเกาหลี ไปยังชางชุน ในแมนจูเรีย ต่อมา ในทศวรรษที่ 1950 ชื่อนี้ได้นำมาใช้เป็นชื่อรถไฟด่วนที่วิ่งจากฟุกุโอะกะไปยังคาโงชิมะและเบ็ปปุ หมวดหมู่:ชิงกันเซ็งแบ่งตามรูปแบบ.

ซันโยชิงกันเซ็งและฮิการิ (ขบวนรถไฟ) · ฮิการิ (ขบวนรถไฟ)และโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ซันโยชิงกันเซ็งและโอซากะ · โทไกโดชิงกันเซ็งและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ซันโยชิงกันเซ็งและโตเกียว · โตเกียวและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โนโซมิ (ขบวนรถไฟ)

นโซมิ ชิงกันเซ็ง ซีรีส์ 700 ที่สถานีโอกะยะมะ, เมษายน ค.ศ. 2007 ภายในชิงกันเซ็ง ซีรีส์ 700 (โนโซมิ), กันยายน ค.ศ. 2004 โนโซมิ เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงในเส้นทางโทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง ถ้าทำขบวนด้วยรถไฟซีรีส์ 500 จะสามารถวิ่งด้วยความเร็วสูงสุด 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำให้สามารถเดินทางจากโตเกียวไปยังโอซากะ ระยะทางประมาณ 515 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางเพียง 2.5 ชั่วโมง ปัจจุบัน ขบวนโนโซมิ จะใช้รถไฟชิงกันเซ็ง 300 ซีรีส์, 500 ซีรีส์, 700 ซีรีส์ และ N700 ซีรีส์ ซึ่ง N700 รุ่นล่าสุดนั้นจะให้บริการไปกลับเพียงแค่ 4 รอบต่อวันเท่านั้น นอกจากนั้นยังมีโครงการจะให้บริการโนโซมิทั้งหมด (เช่น โตเกียว-ฮะกะตะ) ใช้รถไฟ N700 ทั้งหมดในปี 2009 นี้ ขบวนโนโซมินี้จะหยุดไม่บ่อยครั้งเหมือนกับขบวนฮิกะริ สำหรับโทไกโด ชิงกันเซ็งนั้น ขบวนโนโซมิจะหยุดที่สถานีรถไฟโตเกียว, นะโงะยะ, เคียวโตะ และชินโอซะกะ เท่านั้น ส่วนเส้นทาง ซันโย ชิงกันเซ็ง นั้น ขบวนโนโซมิทุกขบวนจะหยุดที่สถานีชินโคเบะ, โอะกะยะมะ, ฮิโระชิมะ, โคะกุระ และฮะกะตะเท่านั้น มีโนโซมิบางขบวนเท่านั้นที่จะหยุดที่สถานีเสริมนอกเหนือจากนี้ โนโซมิให้บริการเฉพาะเวลากลางวันเท่านั้น โดยไม่สามารถใช้สิทธิ์บัตรผ่านรถไฟญี่ปุ่นสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติได้ คำว่า โนโซมิ เป็นคำในภาษาญี่ปุ่น มีความหมายว่า "ความหวัง" ได้รับการคัดเลือกให้เป็นชื่อเนื่องจากมีความเร็วกว่าบริการรถไฟที่มีอยู่ในขณะนั้นคือ ฮิกะริ ที่มีความหมายว่า "แสง" หรือ "รังสี" และโคะดะมะ ที่มีความหมายว่า "เสียงสะท้อน" ซึ่งในขณะนั้นมีความต้องการรถไฟที่เร็วกว่าฮิระกิ และ โคะดะมะอยู่มาก โนโซมิ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1992.

ซันโยชิงกันเซ็งและโนโซมิ (ขบวนรถไฟ) · โทไกโดชิงกันเซ็งและโนโซมิ (ขบวนรถไฟ) · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

1 ตุลาคมและซันโยชิงกันเซ็ง · 1 ตุลาคมและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซันโยชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง

ซันโยชิงกันเซ็ง มี 42 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทไกโดชิงกันเซ็ง มี 59 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 10.89% = 11 / (42 + 59)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซันโยชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »