โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซและแมคอินทอช

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซและแมคอินทอช

ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ vs. แมคอินทอช

ตราโอเพนซอร์ซ ของ Open Source Initiative (OSI) ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ (Open source software; ตัวย่อ: OSS) คือ ซอฟต์แวร์ที่เปิดแผยหลักการหรือแหล่งที่มาของเทคโนโลยีของซอฟต์แวร์นั้นให้บุคคลภายนอกได้ใช้ ภายใต้เงื่อนไขบางประการที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ทำการแก้ไข ดัดแปลงและเผยแพร่ซอร์สโค้ดได้ ภายใต้เงื่อนไขทางข้อตกลงทางกฎหมาย เช่น สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู (จีพีแอล) และสัญญาอนุญาตแจกจ่ายซอฟต์แวร์ของเบิร์กลีย์ (บีเอสดี) ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ เพิร์ล ไฟร์ฟอกซ์ ลินุกซ์ อะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร. รื่องแมคอินทอชรุ่นแรก แมคอินทอช 128K แมคอินทอช (Macintosh) หรือที่รู้จักในชื่อย่อว่า แมค Mac เป็นชื่อของผลิตภัณฑ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พัฒนา ออกแบบ และจำหน่ายโดยบริษัทแอปเปิล แมคอินทอชเครื่องแรกออกวางจำหน่ายเมื่อ 24 มกราคม พ.ศ. 2527 ออกแบบโดย เจฟ ราสกิน แต่ปัจจุบันโจนาธาน ไอฟ์ได้มารับช่วงต่อ โดยถือว่าเป็นระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก และเมาส์ ซึ่งไม่ได้ใช้คอมมานด์ไลน์เหมือนคอมพิวเตอร์ทั่วไปในขณะนั้น โดยในส่วนประเทศไทย บริษัท สหวิริยา โอเอ จำกัด เป็นผู้นำเข้าและเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายรายแรก ซึ่ง แมคอินทอชรุ่นแรกที่ บริษัท สหวิริยา ได้เปิดตัวและทำตลาดเป็นรุ่นแรกคือ Macintosh Plus ซึ่งตลาดที่ บริษัท สหวิริยา ทำในขณะนั้น ส่วนใหญ่เป็น สำนักพิมพ์ นิตยสาร โรงพิมพ์ บริษัท ออกแบบ และบริษัท โฆษณา ซึ่งนับได้ว่า Macintosh เป็นผู้เริ่มพลิกวงการพิมพ์ และออกแบบ โดยใช้ ระบบปฏิบัติการ ที่ถือว่า ฉลาด และเป็นมิตร กับ ผู้ใช้งาน (user) มากที่สุดในขณะนั้น แต่เนื่องจากราคาที่สูงมากในขณะนั้น (ราคา 2,495 ดอลลาร์) ทำให้ยังไม่แพร่หลายในหมู่ ผู้ใช้ทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชปัจจุบันมีผู้ควบคุมการออกแบบ โดยมีผลิตภัณฑ์หลักในชื่อสายการผลิต แมคมินิ ไอแมค และแมคโปร สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ แมคบุ๊ก แมคบุ๊กแอร์ และแมคบุ๊กโปร สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชจะมีการติดตั้งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเฉพาะในชื่อแมคโอเอส ซึ่งรุ่นปัจจุบันคือ macOS 10.13 (High Sierra) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชซึ่งเปลี่ยนมาใช้ หน่วยประมวลผลกลางของอินเทลสามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการอื่นเช่น ลินุกซ์ หรือ วินโดวส์ได้ ลายเซ็นของสตีฟ จ็อบส์สลักในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์แอปเปิ้ลแมคอินทอชครั้งแรก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซและแมคอินทอช

ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซและแมคอินทอช มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ลินุกซ์

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซและลินุกซ์ · ลินุกซ์และแมคอินทอช · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซและแมคอินทอช

ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ แมคอินทอช มี 44 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.75% = 1 / (13 + 44)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซและแมคอินทอช หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »