โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชไมพร จตุรภุช

ดัชนี ชไมพร จตุรภุช

มพร จตุรภุช เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2506 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มจากเข้าประกวดนางสาวไทยเมื่อปี..

33 ความสัมพันธ์: บุพเพสันนิวาสบ่วงช่องวันพ.ศ. 2506พ.ศ. 2529พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533กรุงเทพมหานครกษัตริยาการแปลสิ่งเร้าผิดมายา (ละครโทรทัศน์)รากนครารางวัลโทรทัศน์ทองคำสลักจิตสองฝั่งคลองสุสานคนเป็นหัวใจศิลาห้องหุ่นผู้ชายไม้ประดับจำเลยรักทองสุก 13ทายาทอสูรขมิ้นกับปูนคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10คมพยาบาทประเทศไทยนักแสดงนางสาวไทยแม่หญิงไทรโศกเพลิงพระนางเลื่อมพรายลายรัก13 กันยายน

บุพเพสันนิวาส

ันนิวาส เป็นละครโทรทัศน์แนวย้อนยุค ออกฉายครั้งแรกทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ผลิตโดย บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด เขียนบทโทรทัศน์โดย ศัลยา ดัดแปลงจากนวนิยายชื่อเดียวกันของ รอมแพง กำกับการแสดงโดย ภวัต พนังคศิริ นำแสดงโดย ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ, ราณี แคมเปน, หลุยส์ สก๊อต, สุษิรา แอนจิลีน่า แน่นหนา, ปรมะ อิ่มอโนทัย และ กัญญ์ณรัณ วงศ์ขจรไกล.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและบุพเพสันนิวาส · ดูเพิ่มเติม »

บ่วง

วง เป็นงานเขียนนวนิยายแนวพีเรียด-ดราม่า-สยองขวัญ ของ จุลลดา ภักดีภูมินทร์ (หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ) โดยมีการสร้างเป็นละครโทรทัศน์ถึง 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2555 โดยออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3 บ่วง ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกฉายทางช่อง 3 สร้างโดย ฟิกเกอร์ วัน กำกับการแสดงโดย สุพล วิเชียรฉาย ในปี พ.ศ. 2535 - 2536 นำแสดงโดย เล็ก ไอศูรย์, ปวีณา ชารีฟสกุล, พิมพ์ผกา เสียงสมบุญ และครั้งที่ 2 ฉายทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2555 สร้างโดย บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น กำกับการแสดงโดย ภวัต พนังคศิริ นำแสดงโดย พัชฏะ นามปาน, ศรีริต้า เจนเซ่น, ศิรพันธ์ วัฒนจินดา, ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ, เอสเธอร์ สุปรีย์ลีลา, สุคนธวา เกิดนิมิตร, ชไมพร จตุร.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและบ่วง · ดูเพิ่มเติม »

ช่องวัน

นีโทรทัศน์ช่องวัน 31 (One 31; ชื่อเดิม: จีเอ็มเอ็มวัน GMM One) เป็นช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ภาพคมชัดสูง (HDTV) บริหารงานโดยบริษัท จีเอ็มเอ็มวัน ทีวี จำกัด และมีถกลเกียรติ วีรวรรณเป็นผู้อำนวยการ เป็นช่องโทรทัศน์ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เช่นเดียวกับจีเอ็มเอ็ม 25.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและช่องวัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริยา

กษัตริยา เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช่วงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเทียรราชา) เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัย พระชายา สิ้นพระชนม์ในการยุทธหัตถีกับพม่า จนถึงการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์นำแสดงในบทพระวิสุทธิกษัตรีย์ มีความยาวในการออกอากาศถึง 260 ตอน โดยแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาค "กษัตริยา" เป็นเรื่องราวของพระวิสุทธิกษัตรีย์ และพระสุพรรณกัลยา และภาค "อธิราชา" หรือ มหาราชกู้แผ่นดิน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยเป็นละครที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ จากโครงเรื่องของทมยันตี ผลิตโดย กันตนา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยเป็นละครโทรทัศน์เรื่องแรกที่ใช้โรงถ่าย กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ด้วยงบประมาณการสร้างละครถึง 300 ล้านบาท เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ได้นำละครเรื่องนี้มาออกอากาศซ้ำ ทางสถานีโทรทัศน์เคเบิลและดาวเทียม มิราเคิล ของกันตน.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและกษัตริยา · ดูเพิ่มเติม »

การแปลสิ่งเร้าผิด

งานศิลป์ "Head on a Platter (ศีรษะในจาน)" แสดงที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ประจำภาค ในเมืองโภปาล รัฐมัธยประเทศ ประเทศอินเดีย การแปลสิ่งเร้าผิด"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ illusion ว่า "การลวงตา, การแปลสิ่งเร้าผิด, มายา, ภาวะลวงตา" หรือ มายา (illusion) หมายถึงความผิดพลาดหรือความบิดเบือนของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส ที่ชี้ให้เห็นถึงวิธีที่สมองจัดระเบียบและแปลผลข้อมูลทางประสาทสัมผัส แม้ว่า การแปลสิ่งเร้าผิดจะบิดเบือนความเป็นจริง แต่ก็เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดกับคนโดยมาก การแปลสิ่งเร้าผิดอาจเกิดขึ้นทางประสาทสัมผัสใดก็ได้ในมนุษย์ แต่ภาพลวงตาเป็นการแปลสิ่งเร้าผิดที่รู้จักกันดีที่สุดและมีความเข้าใจกันมากที่สุด ที่มีความสนใจในภาพลวงตามากก็เพราะว่า การมองเห็นเป็นประสาทสัมผัสที่มีอิทธิพลมากที่สุด ซึ่งเห็นได้ในตัวอย่างเช่น คนที่กำลังดูการพูดดัดเสียง (ventriloquism) ได้ยินเสียงว่ามาจากหุ่นที่อยู่ที่มือของคนพูด เนื่องจากว่า เห็นหุ่นนั้นขยับปากตามเสียงคำพูด (แต่ไม่เห็นคนพูดขยับปาก) การแปลสิ่งเร้าผิดบางอย่างมีเหตุจากข้อสันนิษฐานที่สมองมีเกี่ยวกับความเป็นจริงเมื่อเกิดการรับรู้ ข้อสันนิษฐานเหล่านั้นเกิดขึ้นอาศัยรูปแบบของสิ่งที่รับรู้, ความสามารถในการรับรู้ความลึกและการรับรู้ความเคลื่อนไหว, และความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัยว่า วัตถุหรือลักษณะต่าง ๆ ของวัตถุนั้นไม่มีความเปลี่ยนแปลงแม้ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสเกี่ยวกับวัตถุนั้นจะได้เปลี่ยนไปแล้ว ส่วนการแปลสิ่งเร้าผิดอื่น ๆ เกิดขึ้นอาศัยความเป็นไปในระบบการรับรู้ภายในร่างกาย หรือองค์ประกอบอื่น ๆ ภายนอกร่างกายในสิ่งแวดล้อม คำว่า การแปลสิ่งเร้าผิด หมายถึงการบิดเบือนความเป็นจริงทางการรับรู้ที่มีลักษณะเฉพาะ โดยที่ไม่เหมือนกับอาการประสาทหลอน (hallucination) ซึ่งเป็นความบิดเบือนความเป็นจริงโดยไม่มีสิ่งเร้า การแปลสิ่งเร้าผิดเป็นการแปลผลความรู้สึก (อาศัยสิ่งเร้า) ที่มีขึ้นจริง ๆ ผิด ยกตัวอย่างเช่น การได้ยินเสียงโดยไม่มีเสียงจริง ๆ ในสิ่งแวดล้อมเป็นอาการประสาทหลอน แต่ว่า การได้ยินเสียงคนในเสียงน้ำที่กำลังไหลอยู่ (หรือในเสียงอื่น ๆ) เป็นการแปลสิ่งเร้าผิด ละครไมม์ ผู้แสดงทำท่าเหมือนกับพิงอะไรอยู่ที่ไม่มีจริง ๆ ละครไมม์เป็นบทการละเล่นลวงตาที่สร้างขึ้นโดยอาศัยการเคลื่อนไหวกาย คือผู้เล่นละครสร้างภาพลวงตาโดยเคลื่อนกายเหมือนกับทำปฏิกิริยากับวัตถุที่ไม่มี ภาพลวงตาเช่นนี้เกิดขึ้นได้อาศัยข้อสันนิษฐานที่ผู้ชมมีเกี่ยวกับความเป็นไปในโลกจริง ๆ บทเล่นที่รู้จักกันดีก็คือ "กำแพง" (คือทำปฏิกิริยากับกำแพงที่ไม่มี) "ปีนขึ้นบันได" "พิง" (ดูรูป) "ปีนลงบันได" และ "ดึงและผลัก".

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและการแปลสิ่งเร้าผิด · ดูเพิ่มเติม »

มายา (ละครโทรทัศน์)

มายา เป็นละครแนวชีวิต จากบทประพันธ์ของ ว.วินิจฉัยกุล ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 4 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและมายา (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

รากนครา

รากนครา เป็นนวนิยายที่แต่งโดย ปิยะพร ศักดิ์เกษม เริ่มลงพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารสกุลไทย พิมพ์รวมเล่มครั้งแรก พ.ศ. 2540 เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ดินแดนล้านนา หัวเมืองเหนือของสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 และถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้ง รากนครา เป็นเรื่องราวของ เจ้าศุขวงศ์ แห่งเมืองเชียงพระคำ เกิดตกหลุมรัก เจ้าแม้นเมือง หญิงสาวผู้ยึดมั่นรักแผ่นดินและแน่วแน่ในอุดมการณ์ของบรรพบุรุษ ที่ต้องการให้เชียงเงินได้เป็นเอกราชจากสยาม ซึ่งมีน้องสาวต่างแม่คือ เจ้ามิ่งหล้า หญิงสาวผู้เอาแต่ใจและอิจฉาริษยาที่พี่สาวมีชายหนุ่มมาตกหลุมรัก เจ้ามิ่งหล้าจึงวางอุบายดึงเจ้าศุขวงศ์มาใกล้ชิดตัวและวางแผนทำให้เจ้าแม้นเมืองเข้าใจผิด จนเกิดเป็นรักสามเส้า โศกนาฏกรรมทางความรักจึงอุบัติขึ้น โดยมีแผ่นดินเกิดเป็นเดิมพัน.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและรากนครา · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

สลักจิต

ลักจิต เป็นนวนิยายไทย เป็นบทประพันธ์ของ บุษยมาส บทประพันธ์นี้มีการนำมาสร้างเป็นภาพนยตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายต่อหลายครั้ง บทประพันธ์เรื่องนี้สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ นำแสดงโดย ชนะ ศรีอุบล ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและสลักจิต · ดูเพิ่มเติม »

สองฝั่งคลอง

องฝั่งคลอง เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เล่มที่ 3 ของ ว.วินิจฉัยกุล ว่าด้วยเรื่องชีวิตของสตรีในสมัยร.6-ร.ปัจจุบัน ว่าต้องมีสิ่งสำคัญในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงคือ คุณธรรม และความรู้ เพื่อฝ่ามรสุมแห่งชีวิตได้อย่างปลอดภัย ผ่านเรื่องราวของทับทิม หญิงสาวผู้ฝักใฝ่ในการศึกษา ยึดมั่นในคุณธรรมและอดทนต่อความยากลำบาก นวนิยายเรื่อง "สองฝั่งคลอง" เริ่มเหตุการณ์ตั้งแต..

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและสองฝั่งคลอง · ดูเพิ่มเติม »

สุสานคนเป็น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและสุสานคนเป็น · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจศิลา

หัวใจศิลา เป็นละครโทรทัศน์ แนวดราม่า จากบทประพันธ์ อสูรเริงไฟ ของ อาริตา ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 2 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรกสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยใช้ชื่อละครตามบทประพันธ์ ผลิตโดย ณัฐเดช เอ็นเตอร์เทนเมนท์ บทโทรทัศน์ - กำกับการแสดงโดย วีระประวัติ วงศ์พัวพันธ์ นำแสดงโดย อรรถชัย อนันตเมฆ, ชไมพร จตุรภุช, ทาริกา ธิดาทิตย์ โดยในตอนแรกออกอากาศทุกวันจันทร์ - พุธ เวลา 22.30 - 23.00 น. ทาง ช่อง 9 เริ่ม 7 มกราคม - 31 มีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ออกอากาศไม่จบ แล้วได้ย้ายมาออกอากาศทาง ช่อง 5 ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ ครั้งที่สองสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2550 โดยใช้ชื่อว่า หัวใจศิลา ผลิตโดย เอ็กแซ็กท์ บทโทรทัศน์ ทีมเอ็กแซ็กท์ กำกับการแสดงโดย สันต์ ศรีแก้วหล่อ นำแสดงโดย สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว, พิชญา เชาวลิต และเป็นการกลับมาแสดงละครอีกครั้งของ เมทินี กิ่งโพยม รวมทั้งนักแสดงอื่น ๆ อีกมากมาย ออกอากาศทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี ทางช่อง 5 ออกอากาศตอนแรกวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและหัวใจศิลา · ดูเพิ่มเติม »

ห้องหุ่น

ห้องหุ่น เป็นละครโทรทัศน์ สร้างจากบทประพันธ์ของ ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก เป็นเรื่องราวของชายคนหนึ่งที่ชอบปั้นหุ่นเสมือนคนจริง เคยถูกสร้างเป็นละครถึง 3 ครั้ง โดยในครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและห้องหุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ชายไม้ประดับ

ผู้ชายไม้ประดับ เป็นละครแนวดราม่าจากบทประพันธ์ของ น้ำอบ เจ้าของผลงานเดียวกับ คือหัตถาครองพิภพ ได้นำมาสร้างเป็นละครเมื่อปี..

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและผู้ชายไม้ประดับ · ดูเพิ่มเติม »

จำเลยรัก

นตร์จำเลยรัก ปี พ.ศ. 2506 ภาพยนตร์จำเลยรัก ปี พ.ศ. 2521 ละครจำเลยรัก ปี พ.ศ. 2531 ละครจำเลยรัก ปี พ.ศ. 2541 ละครจำเลยรัก ปี พ.ศ. 2551 จำเลยรัก เป็นบทประพันธ์ของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา เป็นนวนิยายในปี..

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและจำเลยรัก · ดูเพิ่มเติม »

ทองสุก 13

ทองสุก 13 เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญแบบนอน-สต็อป โดยมีต้นกำเนิดมาจากภาพยนตร์เรื่อง “ศุกร์ 13 ฝันหวาน” ในสหรัฐอเมริกา จากการกำกับของทวีวัฒน์ วันทา และเขียนบทโดยเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ และยังเป็นผลงานเรื่องแรกของบริษัท เวฟ พิคเจอร์ส จำกัด ออกฉายวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556 นำแสดงโดย ชินวุฒ อินทรคูสิน, ฌอห์ณ จินดาโชติ, ชีรณัฐ ยูสานนท์, อัครณัฐ อริยฤทธิ์วิกุล, ณัฐภัสสรา อดุลยาเมธาสิริ, กิตติ์ลภัส กรสุทธิ์ไรวรรณ.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและทองสุก 13 · ดูเพิ่มเติม »

ทายาทอสูร

ทายาทอสูร เป็นนวนิยายไทย แนวสยองขวัญ-ไสยศาสตร์ จากบทประพันธ์ของ ตรี อภิรุม (เทพ ชุมสาย ณ อยุธยา) สร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว2ครั้งโดย กันตนา ครั้งที่ 3 โดย บริษัท ดีวันทีวี จำกัด คือ ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 ออกอากาศทางททบ. 5 (ออกอากาศซ้ำทางสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมทางช่องมิราเคิล) ครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2544 ออกอากาศทางช่อง 7 สี (ออกอากาศซ้ำทางสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมทางช่อง มีเดีย แชนแนล) โดยมี กันตนาเป็นผู้สร้างละคร ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากทั้งสองครั้ง และครั้งที่สามในปี พ.ศ. 2559 ออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและทายาทอสูร · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้นกับปูน

มิ้นกับปูน เป็นนวนิยายของ จุลลดา ภักดีภูมินทร์ นามปากกาของหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ สร้างเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้ง และละครโทรทัศน์ 4 ครั้ง.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและขมิ้นกับปูน · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10 เป็นการแจกรางวัลให้แก่ศิลปิน นักแสดง โดยพิจารณาจากผลงานด้านวงการบันเทิงของไทยสาขาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2555 พิธีการมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ณ โรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ ซอยรางน้ำ.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

คมพยาบาท

มพยาบาท เป็นบทประพันธ์ของสุข หฤทัย (เทพ สุทธิพงศ์) เป็นเรื่องราวเปียและน้อย สองสาวที่ถูกเปลี่ยนตัวในตอนเด็ก เหตุเพราะความอิจฉาริษยาของผู้ใหญ่ ลูกคนจนกลายไปเป็นคนรวย ส่วนลูกคนรวยกลายกลับต้องมาเป็นลูกคนจน เริ่มแรกบทประพันธ์เป็นละครวิทยุ ของ คณะกมลพิศมัย ทาง ท.ท.ท. แสดงโดย สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ และ อารีย์ นักดนตรี ต่อมาได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและคมพยาบาท · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและนักแสดง · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

แม่หญิง

ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ยุรนันท์ และ และ สิเรียม ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ศรราม และ วรนุช แม่หญิง เป็นนวนิยายแนวพีเรียดที่เขียนขึ้นโดย วราภา และได้นำมาถ่ายทำเป็น ละครโทรทัศน์ ปัจจุบัน ออกอากาศทาง ช่อง 7 สี ผลิตโดยบริษัท คำพอดี บริษัทในเครือบริษัท เวิร์คพอยท์ เอนเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 20.30 - 22.30 น. ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2552 โดยเป็นความรักแบบสามเส้าและความรักต่างชนชั้นระหว่าง ท่านหญิงอุณาโลมเชื้อพระวงศ์ผู้สูงศักดิ์,เอื้ออิศรา ชายหนุ่มนักร้องนักดนตรีซึ่งกำลังมีชื่อเสียงแต่ยากจนและเป็นคนรักของท่านหญิงและพราหมณ์ เจ้าของหนังสือพิมพ์ที่ขายดีที่สุดฉบับหนึ่งในเมืองไทยเป็นเพื่อนสนิทของเอื้อแต่ไม่ถูกชะตากับท่านหญิงตั้งแต่แรกเห็น.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

ไทรโศก

ทรโศก เป็นภาพยนตร์ไทย ฟิล์ม 35 มม.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและไทรโศก · ดูเพิ่มเติม »

เพลิงพระนาง

ลิงพระนาง เป็นละครโทรทัศน์ไทยโดยกันตนา ดัดแปลงเนื้อเรื่องบางส่วนจากหนังสือ เที่ยวเมืองพม่า พระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และหนังสือ พม่าเสียเมือง ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นเรื่องราวสมมติแย่งชิงอำนาจกันจนนำไปสู่ความล่มสลายของบ้านเมือง ได้มีการนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 2 ครั้ง ครั้งแรก ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก เมื่อ พ.ศ. 2539 นำแสดงโดย ชไมพร จตุรภุช, ปรียานุช ปานประดับ, สันติสุข พรหมศิริ ครั้งที่ 2 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 - 15 เมษายน พ.ศ. 2560 นำแสดงโดย เคลลี่ ธนพัฒน์,พัชราภา ไชยเชื้อ, จีรนันท์ มะโนแจ่ม,.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและเพลิงพระนาง · ดูเพิ่มเติม »

เลื่อมพรายลายรัก

ลื่อมพรายลายรัก เป็นบทประพันธ์ของ ดวงตะวัน โดยถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ผลิตโดย บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด บทโทรทัศน์ Sanctuary กำกับการแสดงโดย ชนินทร ประเสริฐประศาสน์ นำแสดงโดย วิทยา วสุไกรไพศาล, ศรีริต้า เจนเซ่น, ชไมพร จตุรภุช, ดารัณ บุญยศักดิ์, ศรัณยู ประชากริช, พริมรตา เดชอุดม, ดิลก ทองวัฒนา, วรวุฒิ นิยมทรัพย์ และนักแสดงมากฝีมืออีกมากม.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและเลื่อมพรายลายรัก · ดูเพิ่มเติม »

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชไมพร จตุรภุชและ13 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เหมียว ชไมพร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »