ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ
ชิโมโนเซกิ vs. ปูไฮเกะ
มโนเซกิ เป็นนครในจังหวัดยามางูจิ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางปลายทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดของเกาะฮนชูติดกับช่องแคบสึชิมะ และอยู่ฝั่งตรงกันข้ามกับเมืองคิตะกีวชู จังหวัดฟูกูโอกะ โดยมีช่องแคบคันมงกั้นระหว่างกัน มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 716.14 ตารางกิโลเมตร ในปี.. ปูไฮเกะ หรือ ปูซะมุไร (Heikegani; 平家蟹, ヘイケガニ) เป็นปูทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในท้องทะเลแถบเมืองชิโมะโนะเซะกิ จังหวัดยะมะงุจิ ทางตอนใต้ของญี่ปุ่น ปูไฮเกะ มีลักษณะเด่น คือ บนกระดองมีลวดลายที่มีลักษณะเหมือนใบหน้ามนุษย์ที่กำลังโกรธเกรี้ยวหรือหน้ากากซะมุไร ซึ่งชาวญี่ปุ่นเชื่อว่า ปูชนิดนี้เป็นดวงวิญญาณของเหล่านักรบซะมุไรตระกูลไฮเกะ หรือไทระที่กลับชาติมาเกิด หลังจากได้ถูกฆ่าตายล้างตระกูลหรือกระโดดน้ำฆ่าตัวตายในท้องทะเลแถบนี้เมื่อปี ค.ศ. 1185 ในยุทธการดันโนะอุระ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเก็มเป ที่เป็นสงครามแย่งชิงความเป็นใหญ่ระหว่าง 2 ตระกูลใหญ่ คือ ไทระ กับ มินะโมะโตะ และฝ่ายมินะโมะโตะเป็นฝ่ายชนะ จึงมีเรื่องเล่าต่าง ๆ เกี่ยวกับดวงวิญญาณที่ยังไม่สงบของสมาชิกเหล่าตระกูลไทระต่าง ๆ บ้างก็ว่าชาวประมงในแถบนี้เห็นดวงไฟวิญญาณบนท้องทะเลในเวลาค่ำคืน ภาพอุกิโยะของดวงวิญญาณตระกูลไทระ ปูไฮเกะ ปรากฏอยู่ทางด้านซ้าย วาดโดยอุตะงะวะ คุนิโยะชิ ในทางวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ปูไฮเกะเป็นผลมาจากการคัดสรรเทียม ซึ่งมาจากฝีมือมนุษย์ โดยชาวประมงในแถบนี้เมื่อจับปูชนิดตัวหนึ่งนี้ได้ ที่มีรูปลักษณะที่ประหลาดบนกระดองจึงไม่กล้าจับมา และได้โยนลงทะเล ปูที่มีกระดองประหลาดนั้นจึงได้ผสมพันธุ์และขยายพันธุ์กับปูตัวอื่น ๆ จนกลายมาเป็นปูที่มีกระดองที่มีใบหน้ามนุษย์เช่นนี้มากมาย กอรปกับที่มีเรื่องเล่าเช่นนี้ในท้องถิ่นจึงเกิดเป็นจินตภาพขึ้นม.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ
ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จังหวัดยามางูจิ
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ
การเปรียบเทียบระหว่าง ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ
ชิโมโนเซกิ มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปูไฮเกะ มี 17 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.85% = 1 / (9 + 17)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชิโมโนเซกิและปูไฮเกะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: