โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชิต สิงหเสนีและบุศย์ ปัทมศริน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชิต สิงหเสนีและบุศย์ ปัทมศริน

ชิต สิงหเสนี vs. บุศย์ ปัทมศริน

ต สิงหเสนี เกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม.. มจำเลยผู้ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2489 (จากซ้าย) นายชิต สิงหเสนี '''นายบุศย์ ปัทมศริน''' และนายเฉลียว ปทุมรส บุศย์ ปัทมศริน เป็นอดีตมหาดเล็กห้องบรรทมในรัชกาลที่ 8 ผู้ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องในการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื่อ พ.ศ. 2489 ต่อมาได้ตกเป็นผู้ต้องหาในคดีดังกล่าวและได้รับการตัดสินโทษประหารชีวิตในปี พ.ศ. 2498 นายบุศย์ ปัทมศริน เป็นบุตรของขุนวิสูตรเสนีย์กับนางปุก ปัทมศริน เกิดเมื่อ พ.ศ. 2443 จบการศึกษาระดับมัธยมศีกษาปีที่ 5 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เข้ารับราชการครั้งแรกในกรมปลัดบัญชี ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จนิวัติพระนครใน พ.ศ. 2488 จึงได้เลื่อนเป็นมหาดเล็กตั้งเครื่อง และมหาดเล็กห้องบรรทมตามลำดับ เมื่อเกิดเหตุการณ์การสวรรคตของรัชกาลที่ 8 นายบุศย์ได้ขึ้นให้การต่อคณะกรรมการสอบสวนพฤตติการณ์ในการที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต หรือ "ศาลกลางเมือง" ในฐานะพยานสำคัญ เนื่องจากนายบุศย์เป็น 1 ใน 2 คนที่อยู่ใกล้ชิดกับห้องพระบรรทมของรัชกาลที่ 8 มากที่สุด แต่ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร พ.ศ. 2490 นายบุศย์พร้อมด้วยบุคคลอื่นอีก 4 คน ได้ถูกจับกุมด้วยข้อหามีส่วนร่วมในการวางแผนลอบปลงพระชนม์รัชกาลที่ 8 ซึ่งต่อมาอัยการได้สั่งฟ้องนายบุศย์พร้อมกับผู้ต้องหาอีก 2 คน คือ นายเฉลียว ปทุมรส และนายชิต สิงหเสนี ในการพิจารณาคดีชั้นศาล ศาลอาญาได้พิพากษาให้ปล่อยตัวนายบุศย์ แต่ในชั้นศาลอุทธรณ์ได้กลับคำพิพากษาให้ประหารชีวิตนายบุศย์พร้อมกับนายชิต ที่สุดแล้วเมื่อมีการพิจารณาในชั้นศาลฎีกา ได้มีการพิพากษาให้ประหารชีวิตจำเลยในคดีนี้ทั้ง 3 คนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2497ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ศาลยุติธรรม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชิต สิงหเสนีและบุศย์ ปัทมศริน

ชิต สิงหเสนีและบุศย์ ปัทมศริน มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2481พ.ศ. 2489พ.ศ. 2498พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลมหาดเล็กศาลฎีกาสารคดี (นิตยสาร)เรือนจำกลางบางขวางเหรียญรัตนาภรณ์เฉลียว ปทุมรส17 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ชิต สิงหเสนีและพ.ศ. 2481 · บุศย์ ปัทมศรินและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ชิต สิงหเสนีและพ.ศ. 2489 · บุศย์ ปัทมศรินและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ชิต สิงหเสนีและพ.ศ. 2498 · บุศย์ ปัทมศรินและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ชิต สิงหเสนีและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · บุศย์ ปัทมศรินและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สวรรคตเพราะต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง และนำไปสู่การเถลิงถวัลยราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และการลดบทบาททางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 โดยกลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทุกวันนี้กรณีดังกล่าวยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ แต่ไม่เป็นประเด็นสาธารณะเพราะกรณีดังกล่าวพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยโดยตรง.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลและชิต สิงหเสนี · การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลและบุศย์ ปัทมศริน · ดูเพิ่มเติม »

มหาดเล็ก

มหาดเล็ก หมายถึง ข้าราชการในพระราชสำนัก โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า “......

ชิต สิงหเสนีและมหาดเล็ก · บุศย์ ปัทมศรินและมหาดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ชิต สิงหเสนีและศาลฎีกา · บุศย์ ปัทมศรินและศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

สารคดี (นิตยสาร)

นิตยสารสารคดี เป็นนิตยสารของไทย ที่มุ่งเน้นบทความแนวสารคดีโดยเฉพาะ ครอบคลุมทั้งเรื่องธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ บุคคล ชีวิต ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเริ่มวางแผงฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 โดยอยู่ในเครือของ บริษัท วิริยะธุรกิจ จำกัด โดยมีจุดเริ่มต้นจาก คุณสุชาดา จักพิสุทธิ์ บรรณาธิการคนแรก คุณจำนงค์ ศรีนวล บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ คุณสกล เกษมพันธ์ ช่างภาพสารคดี คุณสุดารา สุจฉายา และคุณวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์เป็นนักเขียนรุ่นบุกเบิก โดยมีความคิดทำหนังสือที่มีสาระความรู้หลากหลาย ให้ความสำคัญกับการถ่ายภาพและการออกแบบรูปเล่มเป็นพิเศษ ปัจจุบันมีคุณสุวัฒน์ อัศวไชยชาญ เป็นบรรณาธิการบริหาร สำนักงานนิตยสารสารคดีตั้งอยู่ที่ บริษัทวิริยะธุรกิจ 28,30 ซอยวัดปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ.

ชิต สิงหเสนีและสารคดี (นิตยสาร) · บุศย์ ปัทมศรินและสารคดี (นิตยสาร) · ดูเพิ่มเติม »

เรือนจำกลางบางขวาง

รือนจำกลางบางขวาง หรือ เรือนจำมหันตโทษ เป็นเรือนจำที่ใช้คุมขังนักโทษคดีอุกฉกรรจ์ อยู่ในความดูแลของกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ที่มีอัตราโทษจำคุกตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จนถึงโทษประหารชีวิต ตั้งอยู่เลขที่ 117 หมู่ 3 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี อยู่ติดกับวัดบางแพรกใต้.

ชิต สิงหเสนีและเรือนจำกลางบางขวาง · บุศย์ ปัทมศรินและเรือนจำกลางบางขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ชิต สิงหเสนีและเหรียญรัตนาภรณ์ · บุศย์ ปัทมศรินและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว ปทุมรส

กรณีรัชกาลที่ 8 สวรรคต เฉลียว ปทุมรส (25 มีนาคม พ.ศ. 2445 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นอดีตสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน อดีตราชเลขาธิการในสมัยรัชกาลที่ 8 อดีตสมาชิกพฤฒสภาสังกัดพรรคแนวรัฐธรรมนูญ ตกเป็นผู้ต้องหาในเหตุการณ์รัชกาลที่ 8 สวรรคต โดยถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวพันในการวางแผนลอบปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ในที่สุดศาลฎีกาได้พิพากษาให้ได้รับโทษประหารชีวิต จึงถูกนำตัวไปประหารชีวิตที่เรือนจำบางขวางในเช้ามืดวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 พร้อมด้วยจำเลยอีก 2 คนในคดีนี้ คือ ชิต สิงหเสนี และบุศย์ ปัทมศริน เฉลียว ปทุมรส มีบุตรสี่คน คือ สมวงศ์ ปทุมรส, เครือพันธ์ (ปทุมรส) บำรุงพงศ์, ฉายศรี (ปทุมรส) โสภณศิริ และ เพิ่มศักดิ์ ปทุมรส ตามลำดั.

ชิต สิงหเสนีและเฉลียว ปทุมรส · บุศย์ ปัทมศรินและเฉลียว ปทุมรส · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

17 กุมภาพันธ์และชิต สิงหเสนี · 17 กุมภาพันธ์และบุศย์ ปัทมศริน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชิต สิงหเสนีและบุศย์ ปัทมศริน

ชิต สิงหเสนี มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ บุศย์ ปัทมศริน มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 28.57% = 12 / (20 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชิต สิงหเสนีและบุศย์ ปัทมศริน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »