โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชิคาซอว์และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชิคาซอว์และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน

ชิคาซอว์ vs. รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน

ซอว์ (Chickasaw) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ชิคาซอว์พูดภาษาชิคาซอว์ที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษามัสคีกิน (Muskogean languages) ชิคาซอว์เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมมิสซิสซิปปีที่มีถิ่นฐานอยู่ทั่วไปในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ก่อนที่จะได้พบกับชาวยุโรปเป็นครั้งแรกชิคาซอว์ย้ายไปทางตะวันออกไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชอคทอว์ก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) ผู้ถูกบังคับให้ขายดินแดนบ้านเกิดของตนเองแก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาในปี.. ำปราศัยต่อรัฐสภาสหรัฐอเมริกาประจำปี” ของปี ค.ศ. 1829) รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน หรือ รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายอินเดียน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชิคาซอว์และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน

ชิคาซอว์และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชอคทอว์กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐมิสซิสซิปปีห้าเผ่าอารยะเชอโรคีเส้นทางธารน้ำตา

ชอคทอว์

อคทอว์ (Choctaw) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้สหรัฐอเมริกาในรัฐโอคลาโฮมา, แคลิฟอร์เนีย, มิสซิสซิปปี, ลุยเซียนา, เทกซัส และ แอละแบมา ชอคทอว์จัดอยู่ในกลุ่มภาษามัสคีกิน (Muskogean languages) คำว่า “Choctaw” (หรือสะกด: “Chahta” “Chactas” “Chato” “Tchakta” and “Chocktaw”) แผลงมาจากคำในภาษาคาสตีลว่า “Chato” ที่แปลว่า “ราบ” แต่นักโบราณคดีจอห์น สวอนทันให้ความเห็นว่าเป็นคำที่มาจากชื่อผู้นำของชอคทอว์เอง ส่วนนักประวัติศาสตร์เฮนรี ฮาลเบิร์ตให้ความเห็นว่าเป็นคำที่มาจากวลีชอคทอว์ “Hacha hatak” (ชนแห่งลุ่มน้ำ) ชอคทอว์เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมมิสซิสซิปปี ที่มีถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ที่นักสำรวจชาวสเปนได้มีโอกาสได้พบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชอคทอว์ก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) เพราะชอคทอว์ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอาณานิคมชาวอเมริกันยุโรป ชาติชอคทอว์แห่งโอคลาโฮมา และ กลุ่มชอคทอว์แห่งมิสซิสซิปปี (Mississippi Band of Choctaw Indians) เป็นกลุ่มองค์กรหลักสองกลุ่มของชอคทอว์ แต่ก็ยังมีกลุ่มอย่อยอื่นที่กระจัดกระจายอยู่ในลุยเซียนา, เทกซัส และ แอละแบม.

ชอคทอว์และชิคาซอว์ · ชอคทอว์และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐอเมริกา (Native Americans in the United States) เป็นวลีที่หมายถึงชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาจากทวีปอเมริกาเหนือที่รวมแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของอะแลสกาและฮาวาย ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันหลายกลุ่มที่เป็นชนเผ่าอินเดียน (Indian tribe) แต่เป็นคำที่ถือว่าไม่สุภาพต่อคนหลายคนที่รวมทั้งรัสเซลล์ มีนส์นักปฏิกิริยาของขบวนการอเมริกันอินเดียน (American Indian Movement) ตามความเห็นของมีนส์ “ในการสัมนานานาชาติของอินเดียนจากทวีปอเมริกาที่กรุงเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ที่สหประชาชาติ ใน..

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐและชิคาซอว์ · กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐและรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน · ดูเพิ่มเติม »

มิสซิสซิปปี

มิสซิสซิปปี (Mississippi) สามารถหมายถึง.

ชิคาซอว์และมิสซิสซิปปี · มิสซิสซิปปีและรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน · ดูเพิ่มเติม »

ห้าเผ่าอารยะ

ตัวแทนของชาวอเมริกันอินเดียนห้าเผ่าที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1775 ถึงปี ค.ศ. 1850 ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า (Five Civilized Tribes) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาห้ากลุ่มที่รวมทั้ง: เชอโรคี, ชิคาซอว์, ชอคทอว์, มัสคีกี (ครีค) และ เซมินโอเล (Seminole) ที่ผู้ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เป็นชาวผิวขาวในสหรัฐอเมริกาในสมัยนั้นถือว่าเป็นเผ่าที่มีวัฒนธรรมเพราะกลุ่มชนเหล่านี้ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาสร้างอาณานิคม และมีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนบ้าน กระบวนการในการพยายามเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของกลุ่มชนพื้นเมืองเป็นนโยบายที่เสนอโดยจอร์จ วอชิงตัน และ เฮนรี น็อกซ์ผู้มีความเห็นว่าระบบด้านการสังคมของกลุ่มชนพื้นเมืองเป็นระบบที่ต่ำกว่าของชาวยุโรปผิวขาว เชอโรคีและชอคทอว์ถือว่าเป็นกลุ่มที่ได้รับความสำเร็จที่สุดในการรับวัฒนธรรมยุโรป-อเมริกัน กลุ่มชนพื้นเมืองทั้งห้าตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐก่อนที่จะถูกโยกย้ายไปส่วนต่างๆ ของประเทศโดยเฉพาะในบริเวณที่ต่อมาเป็นรัฐโอคลาโฮมา กลุ่มชนทั้งห้าเผ่านี้ถูกโยกย้ายจากที่ตั้งถิ่นฐานทางตะวันออกของแม่น้ำมิสซิสซิปปีระหว่างช่วงการอพยพเป็นเวลาหลายสิบปีที่ได้รับการอนุมัติตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนไปยังเขตสงวนอินเดียนที่ปัจจุบันคือทางตะวันออกของรัฐโอคลาโฮมา การโยกย้ายที่มีชื่อเสียงที่สุดคือการโยกย้ายบนเส้นทางธารน้ำตาของเชอโรคี (Cherokee removal) ในปี..

ชิคาซอว์และห้าเผ่าอารยะ · รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนและห้าเผ่าอารยะ · ดูเพิ่มเติม »

เชอโรคี

งของชาติเชอโรคี กลุ่มสหคีทูวาห์แห่งชาวเชอโรคีอินเดียน กลุ่มเชอโรคีอินเดียนตะวันออก เชอโรคี (ᏣᎳᎩ, Cherokee) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่ในรัฐจอร์เจีย, นอร์ทแคโรไลนา, เซาท์แคโรไลนา และทางตะวันออกของเทนเนสซี ภาษาที่ใช้เป็นภาษาที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษาอิโรควอย (Iroquoian languages) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตามประวัติศาสตร์ที่บอกกล่าวกันมากล่าวว่าเชอโรคีย้ายถิ่นฐานมาจากทางตอนใต้ของบริเวณเกรตเลคส์ในสมัยโบราณ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เชอโรคีก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) เพราะเป็นกลุ่มชาวอเมริกันอินเดียนที่ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอาณานิคมชาวอเมริกันยุโรป ตามบันทึกสถติของสำนักงานสถิติแห่งสหรัฐอเมริกาของปี..

ชิคาซอว์และเชอโรคี · รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนและเชอโรคี · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางธารน้ำตา

แผนที่ “เส้นทางธารน้ำตา” เส้นทางธารน้ำตา (Trail of Tears) หมายถึงการบังคับการโยกย้ายถิ่นฐานของชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่รวมทั้งเชอโรคี, ชอคทอว์และอื่นจากดินแดนบ้านเกิดไปตั้งถิ่นฐานยังเขตสงวนอินเดียน (Indian Territory) ใหม่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกาที่ในปัจจุบันคือโอคลาโฮมา “เส้นทางธารน้ำตา” มาจากคำบรรยายการโยกย้ายของชาติชอคทอว์ (Choctaw Nation) ในปี ค.ศ. 1831 ชนพื้นเมืองอเมริกันที่โยกย้ายต้องเผชิญกับสภาวะอากาศ เชื้อโรค และความอดอยากระหว่างการเดินทางไปยังจุดหมาย อันเป็นผลให้มีผู้เสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก ที่รวมทั้งจำนวน 4,000 คนของจำนวน 15,000 คนของเชอโรคีที่ต้องย้ายถิ่นฐาน ในปี ค.ศ. 1831 เชอโรคี, ชิคาซอว์, ชอคทอว์, มัสคีกี (ครีค) และ เซมินโอเล (Seminole) (บางครั้งรวมกันเรียกว่าเผ่าวัฒนธรรมห้าเผ่า (Five Civilized Tribes)) ตั้งถิ่นฐานเป็นชาติอิสระในบริเวณที่เรียกว่าดีพเซาธ์ (Deep South) ของสหรัฐอเมริกา ขณะนั้นกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม (เสนอโดยจอร์จ วอชิงตัน และ เฮนรี น็อกซ์) ได้รับการสนับสนุนอย่างแพร่หลายขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มเชอโรคีและชอคทอว์ แอนดรูว์ แจ็คสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมริกาที่ใช้วิธีการโยกย้ายชาวพื้นเมืองอเมริกันตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน (Indian Removal Act of 1830) ในปี ค.ศ. 1831 ชอคทอว์เป็นชนกลุ่มแรกที่ถูกโยกย้ายและกลายเป็นกลุ่มตัวอย่างสำหรับการโยกย้ายกลุ่มอื่นๆ ต่อมา หลังจากชอคทอว์เซมินโอเลก็เป็นกลุ่มต่อมาที่ถูกโยกย้ายในปี ค.ศ. 1832, มัสคีกี (ครีค)ในปี ค.ศ. 1834, ชิคาซอว์ในปี ค.ศ. 1837 และ เชอโรคีในปี ค.ศ. 1838 เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1837 ชาวพื้นเมืองอเมริกัน 46,000 ก็ถูกโยกย้ายจากถิ่นฐานเดิมทางตอนใต้ที่ทำให้ที่ดินทั้งหมด 25 ล้านเอเคอร์กลายเป็นดินแดนสำหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวอเมริกันเชื้อสายยุโรปที่เข้ามาใหม.

ชิคาซอว์และเส้นทางธารน้ำตา · รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนและเส้นทางธารน้ำตา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชิคาซอว์และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน

ชิคาซอว์ มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 18.18% = 6 / (17 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชิคาซอว์และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »