เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ชาวไวกิงและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาวไวกิงและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก

ชาวไวกิง vs. เส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ.. แผนที่แสดงเส้นทางการค้าหลักของวารันเจียนที่รวมทั้ง: เส้นทางการค้าสายโวลกา (สีแดง) และเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก (สีม่วง) เส้นทางสายอื่นที่ใช้ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 จนถึง 11 เป็นสีส้ม เส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก (Путь «из варяг в греки», Put iz varyag v greki, Trade route from the Varangians to the Greeks) เป็นเส้นทางการค้าที่เชื่อมระหว่างสแกนดิเนเวีย, เคียฟรุส และ จักรวรรดิไบแซนไทน์ เส้นทางนี้ทำให้พ่อค้าสามารถเดินทางติดต่อค้าขายโดยตรงได้กับจักรวรรดิไบแซนไทน์และทำให้เกิดการตั้งถิ่นฐานกันขึ้นในบริเวณที่ปัจจุบันคือเบลารุส รัสเซีย และยูเครน เส้นทางเริ่มต้นที่ศูนย์กลางการค้าในสแกนดิเนเวียเช่นแบร์คา, เฮเดบี และ ก็อตแลนด์ ข้ามทะเลบอลติกเข้าไปยังอ่าวฟินแลนด์ และเดินตามลำแม่น้ำเนวาไปยังทะเลสาบลาโกดา จากนั้นก็ตามขึ้นแม่น้ำโวลคอฟ (Volkhov River) ผ่านเมือง สตารายาลาโดกา (Staraya Ladoga) และ เวลิคีโนฟโกรอด (Velikiy Novgorod) ข้ามทะเลสาบอิลเมน ตามลำน้ำแม่น้ำโลวัต จากแม่น้ำโลวัตก็ต้องบรรทุกทางบกไปยังแม่น้ำนีเพอร์ไม่ไกลจากกเนซโดโว (Gnezdovo) สายที่สองเริ่มจากทะเลบอลติกไปยังแม่น้ำนีเพอร์ทางดวินาตะวันตก (Daugava) และตามแม่น้ำคาพลยา (Kasplya River) ไปยังกเนซโดโว ตามลำแม่น้ำนีเพอร์เส้นทางต้องข้ามจุดที่น้ำเชี่ยวจัดหลายจุดและผ่านเคียฟ และหลังจากเข้าสู่ทะเลดำแล้วก็เดินทางตามฝั่งตะวันตกไปยังคอนสแตนติโนเปิล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาวไวกิงและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก

ชาวไวกิงและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): วารันเจียนจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรวรรดิเคียฟรุสทะเลบอลติกเส้นทางการค้าเคียฟ

วารันเจียน

ผู้พิทักษ์ชาววารันเจียนในภาพจากบันทึกพงศาวดารจากคริสต์ศตวรรษที่ 11 วารันเจียน (Væringjar, ภาษากรีกยุคกลาง: Βάραγγοι, Βαριάγοι, Варяги, Varangians หรือ Varyags) คือชนไวกิง และ ชาวนอร์ส ที่เดินทางไปทางตะวันออกและทางใต้ไปยังบริเวณที่ในปัจจุบันคือรัสเซีย, เบลารุส และ ยูเครน ส่วนใหญ่ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 10 แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนกล่าวว่าคำว่า “วารังเจียน” หมายถึงชนชาติพันธุ์ก็ได้ที่เป็นนักเดินทะเล พ่อค้า หรือโจรสลัด คำนี้ใช้ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับไวกิงและกองทหารสลาฟที่เดินทางระหว่างเมืองสำคัญทางการค้าและมักจะเข้าทำสงครามเมื่อมีโอกาส คำที่คล้ายคลึงกันในภาษารัสเซีย “เนเม็ต” (немец) ใช้สำหรับชาวต่างประเทศจากประเทศในยุโรปแต่ส่วนใหญ่หมายถึงเยอรมัน ในภาษารัสเซียสมัยใหม่คำนี้หมายถึงคนเยอรมัน ตามหลักฐานบันทึกพงศาวดารของเคียฟรุสที่รวบรวมราว..

ชาวไวกิงและวารันเจียน · วารันเจียนและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

จักรวรรดิไบแซนไทน์และชาวไวกิง · จักรวรรดิไบแซนไทน์และเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเคียฟรุส

ักรวรรดิเคียฟรุส (Кіеўская Русь, Ки́евская Русь, Ки́ївська Русь) เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ทศวรรษ 880 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่ก่อตั้งขึ้นโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย (วารังเจียน) ที่เรียกว่า “ชนรุส” โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ (ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของยูเครน) รัฐรุสถือว่าเป็นต้นตอของชาติพันธุ์สลาฟตะวันออกในปัจจุบันสามชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวเบลารุส, รัสเซีย, และ ยูเครน รัชสมัยของวลาดิเมียร์มหาราช (ค.ศ. 980–ค.ศ. 1015) และ พระราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019–ค.ศ. 1054) ถือกันว่าเป็นยุคทองของเคียฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิเคียฟรุสยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า “ประมวลกฎหมายรุสสคายา” (Russkaya Pravda) ผู้นำสมัยแรกของจักรวรรดิเคียฟรุสสันนิษฐานกันว่าสืบเชื้อสายมาจากชนชั้นผู้นำสแกนดิเนเวียที่ปกครองข้าแผ่นดินที่เป็นชนสลาฟ และมีอำนาจต่อมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11.

จักรวรรดิเคียฟรุสและชาวไวกิง · จักรวรรดิเคียฟรุสและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลบอลติก

ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).

ชาวไวกิงและทะเลบอลติก · ทะเลบอลติกและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางการค้า

้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..

ชาวไวกิงและเส้นทางการค้า · เส้นทางการค้าและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก · ดูเพิ่มเติม »

เคียฟ

ียฟ (Київ, Kyyiv, คืยิว; Киев, Kiyev, คียิฟ; Kiev, Kyiv) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศยูเครน และยังเป็น 1 ใน 4 เมืองเจ้าภาพฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 ด้วย โดยมีสนามกีฬาโอลิมปิกแห่งชาติเคียฟเป็นสถานที่แข่งขัน ตั้งอยู่ภาคกลางตอนเหนือของประเทศ ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ (Dnieper) ในปี พ.ศ. 2544 เคียฟมีประชากร 2,660,401 คน ในปัจจุบันคาดว่าเพิ่มเป็นมากกว่า 3.5 ล้านคน.

ชาวไวกิงและเคียฟ · เคียฟและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาวไวกิงและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก

ชาวไวกิง มี 73 ความสัมพันธ์ขณะที่ เส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 6.90% = 6 / (73 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวไวกิงและเส้นทางการค้าระหว่างวารันเจียนและกรีก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: