โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวฮั่นและสุสานหลวงหมิงเซี่ยว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาวฮั่นและสุสานหลวงหมิงเซี่ยว

ชาวฮั่น vs. สุสานหลวงหมิงเซี่ยว

วฮั่น (漢族) เป็นประชากรส่วนใหญ่ในประเทศจีน ผลสำรวจจำนวนประชากรในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 พบว่า มีชาวฮั่นราว 1,200 ล้านคนอาศัยในประเทศจีน และนับเป็นกลุ่มชนชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้วย มีหลักฐานว่าชาวฮั่นถือกำเนิดมาตั้งแต่สมัยหวงตี้ (黃帝) อาศัยอยู่ในแถบดินแดนจงหยวน และกระจายอยู่ทั่วประเทศจีนมายาวนานกว่า 5,000 ปี นับตั้งแต่สมัยเซี่ย ซาง โจว ชุนชิว-จั้นกั๋ว จนมาเริ่มเป็นปึกแผ่นในสมัยฉินและฮั่น สมัยฮั่นนี่เองที่เริ่มมีคำเรียก 'ฮั่น' ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่มีความเชื่อตามแบบลัทธิเต๋า ชาวฮั่นมีกิจกรรมด้านการเกษตรและหัตถกรรมที่เจริญก้าวหน้า อีกทั้งมีการประดิษฐ์เครื่องสำริด การถักทอ เครื่องเคลือบดินเผา สถาปัตยกรรม และศิลปะการวาดภาพที่เป็นหน้าตาของชนชาติมาตั้งแต่ยุคโบราณ นอกจากนี้ ยังรวมถึงผลงานวรรณกรรมรูปแบบต่างๆ ที่เป็นที่ยอมรับไปทั่วด้วย และที่ลืมไม่ได้ก็คือ การเป็นชนกลุ่มแรกของโลกที่ค้นพบและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ 4 อย่าง คือ กระดาษ เทคนิคการพิมพ์ เข็มทิศ และดินปืน บุคคลสำคัญเชื้อสายฮั่นในแผ่นดินจีนไม่ว่าจะเป็นนักทฤษฎี นักปฏิวัติ นักการเมือง กวี ศิลปินต่าง ๆ ที่ถูกจารึกนามในหน้าประวัติศาสตร์จีนและของโลกที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ ดร.ซุนยัตเซ็น เหมาเจ๋อตง โจวเอินไหล หลิวเส้าฉี จูเต๋อ เติ้งเสี่ยวผิง หลู่ซวิ่น ฯลฯ ล้วนเป็นชาวฮั่นที่สร้างคุณูปการต่อลูกหลานชนชาวฮั่นในวันนี้ และยังรวมถึง ขงจื๊อ ปรัชญาเมธีผู้เรืองนามของจีน เป็นเวลาเนิ่นนานหลายร้อยปี ที่แนวคิดของขงจื๊อซึ่งเป็นรากฐานคุณธรรมคำสอนของชาวฮั่น ได้แผ่อิทธิพลไปทั่วทวีปเอเชียตะวันออก (East-Asia) ชาวฮั่นมีวันสำคัญทางประเพณีได้แก่ เทศกาลตรุษจีน 春節 เทศกาลหยวนเซียว 元宵節 เทศกาลไหว้บะจ่าง 端午節 เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋節 (จงชิวเจี๋ย) เป็นต้น ชาวฮั่นมีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเองเรียกว่า ภาษาฮั่น 漢語 (ฮั่นอวี่) มีตัวอักษรเรียกว่า อักษรฮั่น 漢字 (ฮั่นจื่อ) ซึ่งยังแบ่งเป็นภาษาถิ่นอีกหลายภาษา อาทิ ภาษาถิ่นทางภาคเหนือ (北方話) ภาษากวางตุ้ง (粵語) ภาษาแคะ (客家話) ภาษาถิ่นแถบเซี่ยเหมิน (閩南語) ภาษาถิ่นฮกเกี๊ยน (閩北語) ภาษาถิ่นแถบเซี่ยงไฮ้-เจียงซู-เจ้อเจียง (吳語) ภาษาถิ่นแถบหูหนัน (湘語) และภาษาถิ่นแถบเจียงซี (贛語). สุสานหลวงหมิงเซี่ยว (明孝陵 Míng Xiào Líng; Ming Xiaoling Mausoleum) เป็นที่ฝังพระศพจักรพรรดิหงอู่ ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์หมิง เริ่มก่อสร้างในรัชสมัยจักรพรรดิหงอู่ เมื่อปี ค.ศ. 1381 และมาเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี ค.ศ. 1405 ในรัชสมัยจักรพรรดิหย่งเล่อ รวมเวลาทั้งสิ้น 24 ปี ใช้แรงงานในการก่อสร้างกว่า 100,000 คนและมีสิ่งสำคัญคือป้ายศิลาจารึกที่จักรพรรดิหย่งเล่อโปรดเกล้า ฯ ให้จารึกคำสรรเสริญพระเกียรติยศของจักรพรรดิหงอู่พระราชบิดากว่า 2,746 ตัวอักษร สุสานหลวงแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการสมัยที่ 24 ของยูเนสโก เมื่อปี ค.ศ. 2000 และได้มีการขึ้นทะเบียนเพิ่มเติมเมื่อปี ค.ศ. 2003 และ ค.ศ. 2004 หมวดหมู่:สุสานในประเทศจีน หมวดหมู่:มรดกโลก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาวฮั่นและสุสานหลวงหมิงเซี่ยว

ชาวฮั่นและสุสานหลวงหมิงเซี่ยว มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จักรพรรดิหย่งเล่อ

จักรพรรดิหย่งเล่อ

มเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ ภาพวาดขณะหย่งเล่อฮ่องเต้ทอดพระเนตรเหล่าขันทีขณะกำลังเล่นคูจู่หรือตะกร้อ โบราณของจีน สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 1903 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 1967) พระนามเดิม จู ตี้ (朱 棣) คือฮ่องเต้พระองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

จักรพรรดิหย่งเล่อและชาวฮั่น · จักรพรรดิหย่งเล่อและสุสานหลวงหมิงเซี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาวฮั่นและสุสานหลวงหมิงเซี่ยว

ชาวฮั่น มี 41 ความสัมพันธ์ขณะที่ สุสานหลวงหมิงเซี่ยว มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.89% = 1 / (41 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวฮั่นและสุสานหลวงหมิงเซี่ยว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »