เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ชาวสิงหลและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาวสิงหลและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์

ชาวสิงหล vs. ศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์

วสิงหล (สิงหล: සිංහල ජාතිය) เป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศศรีลังกา พูดภาษาในกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เป็นประชากรส่วนมากในประเทศศรีลังกาคิดเป็น 75% และมีจำนวนประชากรมากถึง 16.2 ล้านคน มีประวัติศาสตร์และเอกลักษณ์ประจำชาติ ชาวสิงหลส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ เช่นเดียวกับประเทศไทย ตามบทกวีมหากาพย์ศตวรรษที่ 5 มหาวงศ์และทีปวงศ์ หนังสือตำราในศตวรรษที่ 3-5 ที่เขียนโดยพระบาลีโดยพระภิกษุสงฆ์ของอนุราธปุระมหาวิหาร ในศรีลังกาว่าชาวสิงหลเป็นลูกหลานของผู้ตั้งถิ่นฐานที่มาที่เกาะนี้ในคริสตศักราช 543 จากเมืองสิงห์ปุระในประเทศอินเดีย นำโดยเจ้าชายวิชั. ระพุทธศาสนาในประเทศมัลดีฟส์ เริ่มต้นตั้งแต่มี กลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวสิงหล ได้อพยพจากศรีลังกา มายังมัลดีฟส์ ดังปรากฏว่ามีพระพุทธรูป สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 จาก อลิฟู และสิ่งต่างๆของพระพุทธศาสนา อยู่ในพิพิธภัณฑ์มัลดีฟส์ กรุงมาเล เมืองหลวงของมัลดีฟส์ คริสต์ศตวรรษที่ 12 ในสมัยพระเจ้าศรี ตรีภุวรรณะ อทิติยะ (Sri Tribuvana Aditiya) ทรงเลื่อมใสในศาสนาอิสลาม และทรงเข้ารีตศาสนาอิสลาม และได้มีพระนามใหม่ว่า สุลต่านมุฮัมเมด อิบน์ อับดุลละ (Muhammed Ibn Abdulla) และต่อมาชาวมัลดีฟส์ก็หันนับถือศาสนาอิสลามเป็นจำนวนมาก และต่อมาก็ทุบทำลายวัด และพระพุทธรูปของพุทธ และปัจจุบันศาสนาพุทธก็ไม่ได้มีบทบาทใดๆในประเทศมัลดีฟส์อีกเลย แต่ก็มีชาวสิงหลพุทธจากประเทศศรีลังกาไปอาศัยอยู่ในมัลดีฟส์จำนวนเล็กน้อย ส่วนมัสยิดแห่งแรกของมัลดีฟส์มีชื่อว่า ธารุมาวัณธา ราชเกฟานุ มิสกีย์ ตั้งอยู่กรุงมาเล เมืองหลวงของมัลดีฟส์ในปัจจุบัน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาวสิงหลและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์

ชาวสิงหลและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ชาวสิงหลและศาสนาพุทธ · ศาสนาพุทธและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาวสิงหลและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์

ชาวสิงหล มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.35% = 1 / (14 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวสิงหลและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: