โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวสกอตแลนด์

ดัชนี ชาวสกอตแลนด์

--> |region5.

19 ความสัมพันธ์: ชาวบริติชชาติพันธุ์วิทยาพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษยวน แม็คเกรเกอร์วิลเลียม วอลเลซสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์อดัม สมิธอเล็กซานเดอร์ เฟลมมิงอเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์อเล็กซ์ เฟอร์กูสันฌอน คอนเนอรีประเทศสกอตแลนด์แอนดรูว์ คาร์เนกีแอนดี เมอร์รีเจมส์ วัตต์เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์เดวิด ลิฟวิงสโตนเดวิด ฮูม

ชาวบริติช

วบริติช เป็นชนชาติหรือคนพื้นเมืองของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร และคราวน์ดีเพนเดนซี ตลอดจนผู้สืบเชื้อสายจากชนชาตินี้ กฎหมายสัญชาติสหราชอาณาจักรสมัยใหม่ถือว่าหมายถึงผู้ถือความเป็นพลเมืองและสัญชาติสหราชอาณาจักร แต่ในบริบททางประวัติศาสตร์จะหมายถึงชาวบริตัน ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของเกาะบริเตนใหญ.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และชาวบริติช · ดูเพิ่มเติม »

ชาติพันธุ์วิทยา

ติพันธุ์วิทยา หรือ ชาติวงศ์วิทยา หรือ ชนชาติวิทยา (ethnology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของมานุษยวิทยา ที่ศึกษาและเปรียบเทียบเกี่ยวกับความเชื่อและวิธีปฏิบัติของแต่ละสังคม เป้าหมายหนึ่งคือ การศึกษาประวัติศาสตร์มนุษย์ กฎทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม และนัยทั่วไปเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ สำหรับผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชานี้ จะเรียกว่า "นักชาติพันธุ์วิทยา" (ethnologist) คำว่า ethnology ถูกใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ชาวสโลวัค Adam František Kollár (1718–1783) โดยมาจาก 2 คำในภาษากรีก คือ ethnos ("ชนชาติ") และ logos ("การศึกษา").

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และชาติพันธุ์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2109 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2168) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ยวน แม็คเกรเกอร์

วน กอร์ดอน แม็คเกรเกอร์ (Ewan Gordon McGregor) เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1971 เป็นนักแสดงชายชาวสก็อตแลน.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และยวน แม็คเกรเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม วอลเลซ

ซอร์ วิลเลียม วอลเลซ (William Wallace; Uilleam Uallas; Norman French: William le Waleys) (ประมาณ พ.ศ. 1813 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 1848) เป็นอัศวินและผู้รักชาติชาวสก็อต ผู้นำการต่อต้านการครอบครองสกอตแลนด์โดยอังกฤษระหว่างสงครามอิสรภาพของสกอตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซได้รับการยกย่องเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ของสก็อตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซ เป็นแรงดลใจในงานกวีนิพนธ์ชื่อ "The Acts and Deeds of Sir William Wallace, Knight of Elderslie" โดยนักดนตรีเร่รอนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชื่อ "แฮรี่ผู้ตาบอด" (Blind Harry) ซึ่งภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่อง Braveheart..

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และวิลเลียม วอลเลซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 (Mary I) หรือ แมรี สจวต (Mary Stuart) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

อดัม สมิธ

อดัม สมิธ (Adam Smith) นักปรัชญาศีลธรรม และ นักเศรษฐศาสตร์การเมืองผู้บุกเบิกชาวสกอตแลนด์ อดัม สมิธ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดแนวคิดเศรษฐศาสตร์แนวตลาดเสรี เป็นบุคคลสำคัญในขบวนการที่เป็นที่รู้จักในชื่อว่า "ยุคสว่างของสกอตแลนด์" (Scottish Enlightenment) โดยเป็นที่รู้จักในฐานะผู้แต่งศาสตรนิพนธ์2 เรื่องคือ ทฤษฎีว่าด้วยศีลธรรมเร้าอารมณ์ (พ.ศ. 2302).

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และอดัม สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง

ซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง (Sir Alexander Fleming) เป็นแพทย์ นักชีววิทยา นักเภสัชวิทยา และนักพฤกษศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1881 ในดาร์เวล ประเทศสก็อตแลนด์ ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือการค้นพบเอนไซม์ไลโซไซม์ในปี..

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และอเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์

อเล็กซานเดอร์ แกรห์มเบลล์ อเล็กซานเดอร์ แกรห์ม เบลล์ (Alexander Graham Bell - 3 มีนาคม ค.ศ. 1847 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1922) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ เป็นชาวชาวอเมริกัน นอกจากนี้ เบลล์ยังเป็นผู้มีความสำคัญอย่างมากในงานวิจัยทางด้านอากาศยาน และ ไฮโดรฟอยล.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และอเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน

ซอร์ อเล็กซานเดอร์ “อเล็กซ์” แชปแมน เฟอร์กูสัน (Sir Alexander “Alex” Chapman Ferguson) เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ที่เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์ เคยเป็นผู้จัดการทีมสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ซึ่งปฏิบัติหน้าที่มายาวนานที่สุด และนำทีมชนะเลิศรายการแข่งขันมาก ที่สุด ในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ของสโมสร เฟอร์กูสันเข้ารับตำแหน่งผู้จัดการทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ต่อจากรอน แอตกินสัน เมื่อ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) และพาทีมชนะเลิศเอฟเอคัพ เมื่อปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) เป็นรายการแรก และหลังจากนั้นก็ชนะเลิศอีก 4 สมัย (รวมเป็น 5 สมัย) รวมทั้งการชนะเลิศเอฟเอพรีเมียร์ลีก 13 สมัย และชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2 สมัย โดยเมื่อปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) หลังจากชนะเลิศรายการแชมเปียนส์ลีก (ต่อจากปี พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ในยุคของเซอร์แมตต์ บัสบี) สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง แห่งสหราชอาณาจักร ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เขาเป็นอัศวินแห่งอังกฤษ นับเป็นชาวสกอตเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับเกียรติอย่างสูงเช่นนี้ ต่อมาในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) เซอร์อเล็กซ์ประกาศยุติการทำหน้าที่ผู้จัดการทีม หลังจบฤดูกาล 2012-13 โดยนัดสุดท้ายจะเป็นการแข่งขันพรีเมียร์ลีก นัดที่ไปเยือนเวสต์บรอมมิชอัลเบียน ในวันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม ปีเดียวกัน หลังจากนั้น เขาจะขึ้นรับตำแหน่งผู้อำนวยการฟุตบอล และเป็นทูตประจำสโมสรเดิมต่อไป.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และอเล็กซ์ เฟอร์กูสัน · ดูเพิ่มเติม »

ฌอน คอนเนอรี

อน คอนเนอรี่ ในงานเทศกาลของชาวสกอตแลนด์ ที่จัดในกรุงวอชิงตันดีซี ฌอน คอนเนอรี่ ในสมัยรับบทเจมส์ บอนด์ ฌอน คอนเนอรี่ (Sean Connery) มีชื่อจริงว่า โธมัส ฌอน คอนเนอรี่ (Thomas Sean Connery) เกิดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1930 ที่เมืองเอดินเบอระ แคว้นสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร บิดาชื่อว่า โจเซฟ คอนเนอรี่ (Joseph Connery) นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ในขณะที่มารดา อูฟาเมีย แม็คลีน (Euphamia Maclean) นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ เขาเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกในค.ศ. 1954 แต่รับบทเป็นเพียงตัวประกอบเล็กๆ ไม่มีบทบาทสำคัญใดๆ ในภาพยนตร์เรื่อง Lilacs in the Spring การรับบทตัวละครสำคัญๆครั้งแรกของฌอน คือใน ค.ศ. 1957 นับเป็นการก้าวสู่วงการบันเทิงอย่างเต็มตัว และไม่นานก็สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนได้อย่างรวดเร็ว ต่อมา ค่ายภาพยนตร์อีโอเอ็น (EON Productions) จะทำภาพยนตร์ชุดบอนด์เดอะซีรีส์ โดยสร้างภาพยนตร์จากนวนิยายสายลับของ เอียน เฟลมมิ่ง เขาจึงได้รับคัดเลือกเป็นผู้รับบทเจมส์ บอนด์คนแรก และเริ่มแสดงภาพยนตร์ชุดบอนด์ โดยภาพยนตร์ชุดบอนด์ตอนแรกได้ออกฉายเป็นครั้งแรกในค.ศ. 1962 ชื่อตอนคือ Dr. No หรือชื่อภาษาไทยว่า พยัคฆ์ร้าย 007 ด้วยทุน 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กวาดรายได้ถล่มทลายถึง 59,600,000 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเมื่อเทียบเป็นค่าของเงินในค.ศ. 2008 แล้วจะได้ถึง 425,488,741 ดอลลาร์สหรัฐ เขาและอีโอเอ็นจึงเดินหน้าถ่ายทำตอนถัดๆไปเรื่อยๆ ถึง 5 ตอน จอร์จ ลาเซนบี้ ก็เข้ามารับบทเป็นเจมส์ บอนด์แทน แต่เขาไม่สามารถชนะใจแฟนๆภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ได้ ฌอน คอนเนอรี่ จึงต้องกลับมารับบทเจมส์บอนด์อีกตอนหนึ่ง คือ Diamonds Are Forever หรือ เพชรพยัคฆราช และเป็นตอนสุดท้ายที่เขาแสดงให้ค่ายอีโอเอ็น แต่ต่อมาเขาก็มาแสดงบทเจมส์ บอนด์ในภาพยนตร์อีกค่ายหนึ่งที่ไม่ใช่ค่ายอีโอเอ็นอีกในค.ศ. 1983 ชื่อว่าตอน Never Say Never Again หรือ พยัคฆ์เหนือพยัคฆ์ และเขายังแสดงภาพยนตร์อยู่เรื่อยๆมาอีกหลายสิบปี โดยก่อนหน้าที่จะมารับบทเจมส์ บอนด์ นั้น คอนเนอรี่เป็นเพียงนักแสดงตัวประกอบโนเนมคนหนึ่งเท่านั้นเอง ซ้ำยังมีอาชีพเสริมคือรับจ้างส่งนมขวดตามบ้านอีกด้วย อีกทั้งยังไม่มีบุคลิกของเจมส์ บอนด์ ตามทรรศนะของเอียน เฟลมมิ่ง เจ้าของบทประพันธ์อีกต่างหาก แต่เมื่อเขาได้รับการคัดเลือกให้มาทดสอบบท โดยเดินเข้ามาและหยิบบุหรี่ที่วางอยู่บนโต๊ะคาบใส่ปากแล้วพูดประโยคอมตะว่า " Bond, James Bond " เขาก็ได้รับบทนี้จาก อัลเบิร์ต อาร์. บรอลโคลี่ ผู้อำนวยการสร้างทันที และก็ไม่ได้ทำให้ผิดหวัง เมื่อเขากลายมาเป็นเจมส์ บอนด์ อันดับหนึ่งตลอดกาลในใจของแฟน ๆ ภาพยนตร์ชุดนี้ทั่วโลก และผู้ชมภาพยนตร์คนอื่น ๆ ทั้ง ๆ ที่มีนักแสดงหลายต่อหลายคนมารับบทนี้ต่อจากคอนเนอรี่ แต่ก็ไม่มีใครสามารถสร้างความประทับใจได้เท่าคอนเนอรี่ ฌอน คอนเนอรี่ ประกาศวางมือจากวงการบันเทิงเมื่อปี ค.ศ. 2006 รวมระยะเวลาที่อยู่ในวงการบันเทิง 52 ปี นับเป็นนักแสดงในระดับซุปเปอร์สตาร์คนหนึ่งของโลก มีผลงานมากมาย และเคยได้รับรางวัลออสการ์สาขาดาราประกอบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง The Untouchables ในปี ค.ศ. 1987 มาแล้วอีกด้ว.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และฌอน คอนเนอรี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรูว์ คาร์เนกี

แอนดรูว์ คาร์เนกี (Andrew Carnegie, 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 - 11 สิงหาคม ค.ศ. 1919) เป็นนักอุตสาหกรรม นักธุรกิจและผู้ประกอบการชาวสกอต-อเมริกัน ผู้นำการขยายตัวอย่างใหญ่หลวงของอุตสาหกรรมเหล็กกล้าอเมริกาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขายังเป็นหนึ่งในนักการกุศลคนสำคัญที่สุดในยุคของเขา คาร์เนกีเกิดในดันเฟิร์มลิน สกอตแลนด์ และอพยพสู่สหรัฐอเมริกากับครอบครัวเมื่อยังเป็นเด็ก อาชีพแรกของเขาในสหรัฐอเมริกา เป็นกรรมกรโรงงานในโรงงานหลอดด้าย ภายหลังเขาทำงานเป็นคนจดรายการ (bill logger) ให้กับเจ้าของบริษัท ไม่นานจากนั้นเขากลายเป็นเด็กส่งของ ท้ายสุด เขาก้าวหน้าเข้าทำงานในบริษัทโทรเลข และจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1860 เขาได้ลงทุนในทางรถไฟ รถนอนทางรถไฟ สะพานและบ่อน้ำมัน เขาร่ำรวยขึ้นมาจากการเป็นผู้ขายพันธบัตรระดมเงินทุนแก่วิสาหกิจอเมริกาในยุโรป เขาก่อตั้ง Carnegie Steel Company ในคริสต์ทศวรรษ 1870 ซึ่งทำให้เขาได้รับการจารึกชื่อว่าเป็น "กัปตันแห่งอุตสาหกรรม" จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1890 บริษัทของเขาเป็นวิสาหกิจอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดและทำรายได้มากที่สุดในโลก ใน ค.ศ. 1902 เขาขายให้แก่ J.P. Morgan เป็นเงิน 480 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และก่อตั้ง U.S. Steel ภายหลังเขาหันไปเป็นผู้นักการกุศล และให้ความสนใจกับการศึกษา คาร์เนกีบริจาคเงินส่วนใหญ่ก่อตั้งห้องสมุด โรงเรียนและมหาวิทยาลัยจำนวนมากในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดาและอีกหลายประเทศ เช่นเดียวกับจัดหาเงินบำนาญให้แก่อดีตลูกจ้าง เขามักถูกจัดให้เป็นบุคคลร่ำรวยที่สุดในประวัติศาสตร์อันดับสอง รองจากจอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในช่วงบั้นปลายชีวิต มูลค่าทรัพย์สินรวมของคาร์เนกีอยู่ที่ 475 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่เมื่อเขาเสียชีวิตมูลค่าทรัพย์สินส่วนตัวได้ลดลงเหลือ 30 ล้านดอลล่าร์สหรัฐจากการบริจาคเงิน มูลค่าแท้จริงประเมินไว้ระหว่าง 75,000 ล้าน ถึง 297,800 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ เมื่อปรับกับเงินเฟ้อเมื่อปลายคริสต์ทศวรรษ 2000 แล้ว.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และแอนดรูว์ คาร์เนกี · ดูเพิ่มเติม »

แอนดี เมอร์รี

แอนดรูว์ "แอนดี" เมอร์รี (Andrew "Andy" Murray) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 เป็นนักเทนนิสอาชีพชายชาวสก็อต ที่ปัจจุบันติดอันดับสูงสุดในการเป็นนักเทนนิสอาชีพจากสหราชอาณาจักร, Daily Telegraph., Daily Mirror. เขาเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศรายการเทนนิสแกรนด์สแลมยูเอสโอเพน ในปี ค.ศ. 2008 และรายการเทนนิสแกรนด์สแลมออสเตรเลียนโอเพน ในปี ค.ศ. 2010 โดยพ่ายแพ้ให้กับโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ไปทั้งสองรายการ ในวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2009 เขาขึ้นถึงอันดับโลกสูงสุดในการเล่นเทนนิสอาชีพของเขา คือ อันดับที่ 2 แต่ปัจจุบันอันดับโลกสูงสดในการเล่นเทนนิส คือ อันดับ1 ณวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และแอนดี เมอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ วัตต์

มส์ วัตต์ (James Watt) (19 มกราคม ค.ศ. 1736 - 19 สิงหาคม ค.ศ. 1819) วิศวกรและนักประดิษฐ์ ชาวสกอตแลนด์ ผู้ปรับปรุงเครื่องปั่นด้าย Spinning Jenny จนนำสหราชอาณาจักรไปสู่ยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตและการต่อเรือ และทำให้สหราชอาณาจักรเป็นเจ้าอาณานิคมในเวลาต่อมา เครื่องจักรของวัตต์เป็นต้นแบบของเครื่องจักรที่ใช้น้ำมันในปัจจุบัน เขาเป็นผู้บัญญัติศัพท์ แรงม้า เป็นวิธีคำนวณประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักร และชื่อของเขาได้รับไปตั้งเป็น หน่วยกำลังไฟฟ้า ในระบบหน่วยเอสไอ.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และเจมส์ วัตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์

ซอร์ เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์ (James George Frazer; 1 มกราคม ค.ศ. 1854 – 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นนักมานุษยวิทยาสังคมชาวสกอตแลนด์ เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิชามานุษยวิทยา และริเริ่มการศึกษาปรัมปราวิทยาและศาสนาเปรียบเที.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และเจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์

เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ นักฟิสิกส์ เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ (James Clerk Maxwell พ.ศ. 2374-2422) นักฟิสิกส์ เกิดที่เมืองเอดินเบิร์ก สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ได้รับการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอดินเบิร์กและเคมบริดจ์ และเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยอาเบอร์ดีน (พ.ศ. 2399) และมหาวิทยาลัยลอนดอน (พ.ศ. 2403) แมกซ์เวลล์เป็นศาสตราจารย์ด้านฟิสิกส์เชิงทดลอง (Experimental Physics) คนแรกของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (พ.ศ. 2414) โดยเป็นผู้ก่อตั้งห้องทดลองคาเวนดิช (Cavendish Laboratory) ที่มีชื่อเสียง แมกซ์เวลล์ได้ตีพิมพ์หนังสือเล่มสำคัญชื่อ "เรื่องราวว่าด้วยไฟฟ้าและแม่เหล็ก" (Treatise on Electricity and magnetism) ในปี พ.ศ. 2416 ซึ่งเป็นการให้วิธีการทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายทฤษฎีของฟาราเดย์เกี่ยวกับไฟฟ้าและแรงของแม่เหล็ก นอกจากนี้ แมกซ์เวลล์ยังได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับการมองเห็นสี จลนะ หรือ การเคลื่อนไหวของก๊าซ แต่งานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาได้แก่ทฤษฎีว่าด้วยการแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งทำให้แมกซ์เวลล์ได้รับการยกย่องให้เป็นนักทฤษฎีฟิสิกส์ชั้นนำแห่งศตวรรษ จเมส์ คเลิร์ก มแกซ์วเลล์ จเมส์ คเลิร์ก มแกซ์วเลล์ หมวดหมู่:บุคคลจากเอดินบะระ.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด ลิฟวิงสโตน

วิด ลิฟวิงสโตน ดร.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และเดวิด ลิฟวิงสโตน · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด ฮูม

วิด ฮูม เดวิด ฮูม (David Hume26 เมษายน ค.ศ. 1711 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1776) เป็นนักปรัชญา และนักประวัติศาสตร์ ชาวสกอตแลนด์ และเป็นบุคคลสำคัญที่สุดคนหนึ่งใน ยุคเรืองปัญญาแห่งสกอตแลนด์ (บุคคลสำคัญคนอื่น ๆ ในยุคนี้ ได้แก่ อดัม สมิธ, ทอมัส เรด เป็นต้น) หลายคนยกย่องให้ฮูม เป็นคนหนึ่งในกลุ่มที่เรียกว่า นักประสบการณ์นิยมชาวบริเตนทั้งสาม ซึ่งฮูมถือเป็นคนที่สามในกลุ่มนี้ ถัดจาก จอห์น ล็อก ชาวอังกฤษ และ จอร์จ บาร์กลีย์ ชาวอังกฤษ-ไอริช นอกจากนี้ยังถือว่าฮูม เป็นคนที่มีแนวคิดทางปรัชญาถึงรากถึงโคนที่สุด ในทั้งสามคนนี้ด้ว.

ใหม่!!: ชาวสกอตแลนด์และเดวิด ฮูม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ชาวสกอตชาวสก็อต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »