โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวมอญและวันไหล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาวมอญและวันไหล

ชาวมอญ vs. วันไหล

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร. ก่อพระทรายวันไหล ณ ชายหาดบางแสน แต่เดิมมีชื่อเรียกว่า ประเพณีก่อพระทรายน้ำไหล คือ เป็นวันทำบุญขึ้นปีใหม่ที่นิยมปฏิบัติต่อๆกันมาในภาคตะวันออก และเขตภาคกลางบางจังหวัด โดยจะกำหนดหลังวันสงกรานต์ประมาณ 5-6วัน ชาวบ้านจะนิยมก่อพระเจดีย์ทรายถวายเป็นพุทธบูชา การก่อเจดีย์ทรายก็คือการขนทราย หาบทรายมากองสูงแล้วรดน้ำเอาไม้ปั้นกลึงเป็นรูปทรงเจดีย์ ปักธงทิวต่าง ๆ ตกแต่งกันอย่างวิจิตบรรจง องค์ใหญ่บ้าง เล็กบ้าง สุดแต่กำลัง บ้างก็ทำเป็นกรวยเล็ก ๆ เพื่อก่อให้ครบ ๘๔,๐๐๐ กอง เท่าจำนวนพระธรรมขันธ์ เมื่อก่อเสร็จพระเจดีย์ทรายแต่ละกองก็จะมีธงทิว พร้อมด้วยผ้าป่า ตลอดจนสมณบริขารถวายพระ พระสงฆ์ก็จะพิจารณาบังสุกุล ทำบุญเลี้ยงพระ เลี้ยงพระเสร็จก็เลี้ยงคนที่ไปร่วมงานเป็นการสนุกสนานในเทศกาลตรุษ ผลที่ได้เมื่องานเสร็จแล้ว ทางวัดก็ได้ทรายไว้สำหรับสร้างเสนาสนะ ปูชนียสถานในวัดหรือถมบริเวณวัดพระสงฆ์ก็ได้เครื่องปัจจัยไทยธรรมต่าง ๆ ช่วงปลายฤดูร้อนจะย่างเข้าฤดูฝน วัดใดที่ใกล้ห้วย หนอง คลอง บึง ญาติโยมอุบาสกอุบาสิกา วัดก็จัดประเพณีก่อพระทรายน้ำไหลขึ้น วิธีการก็คือขุดลอกทรายที่ฝนซัดไหลมาลงรวมขังอยู่ตามคลอง หนอง บึง เป็นการขนทรายเข้าวัด และเป็นการพัฒนาท้องถิ่นด้วย การรวมแรงคนเพื่อร่วมบุญขุดลอก ให้สะอาดเมื่อเข้าสู่ฤดูฝน น้ำฝนจะได้ไหลสะดวก คู คลอง หนอง บึง ไม่ตื้นเขิน หมู่บ้านสะอาด น้ำก็ไหลได้ตามปกติ ไม่ขังเจิ่งท่วมที่นั่นที่นี่ นี่คือประโยชน์ที่ได้จากการก่อพระทรายน้ำไหลในเทศกาล งานประเพณีนี้ชี้ให้เห็นความเจริญของวัฒนธรรมในท้องถิ่นเป็นอย่างดี แต่ด้วยสภาพของบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไป ความเจริญทางวิทยาการใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น การขนทราย โกยทราย หาบทราย เข้าวัดคนละหาบสองหาบก็เปลี่ยนสภาพมาเป็นซื้อทรายเป็นรถ ๆ ขนกันอย่างสะดวกสบาย และหลายวัดก็หมดความจำเป็นที่จะต้องใช้ทราย คู คลอง หนอง บึง ที่ทรายเคยซัดไหลมารวมกันก็ตัดเป็นถนนแปรสภาพจาก คู คลอง หนอง บึง ไปเกือบหมด จนแทบไม่มีการลอก คู คลอง หนอง บึง ในบริเวณใกล้ ๆ วัด งานก่อพระทรายน้ำไหลก็เปลี่ยนสภาพไป วัดต่าง ๆ หลายวัดไม่มีเจดีย์เป็นพุทธบูชา มีแต่เจดีย์ใส่กระดูกผี คำว่าเจดีย์ทรายก็หมดความหมายไป ก่อพระทรายเอาบุญก็เปลี่ยนสภาพไปพัฒนาไปตามกาลเวลา ก่อพระทรายน้ำไหล จึงเรียกสั้น ๆ ลงเหลือแค่ “วันไหล” หรือ “ประเพณีวันไหล”.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาวมอญและวันไหล

ชาวมอญและวันไหล มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สงกรานต์

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ชาวมอญและสงกรานต์ · วันไหลและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาวมอญและวันไหล

ชาวมอญ มี 163 ความสัมพันธ์ขณะที่ วันไหล มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.56% = 1 / (163 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวมอญและวันไหล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »