โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวตุรกีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาวตุรกีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ชาวตุรกี vs. สุลัยมานผู้เกรียงไกร

วตุรกี (Türkler) เป็นกลุ่มชนเตอร์กิกที่พูดภาษาตุรกีและเป็นประชากรที่อาศัยในประเทศตุรกี. ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول‎) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ. 1520 จนเสด็จสวรรคตเมื่อต้นเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1566 เป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 และเป็นสุลต่านที่ทรงราชย์นานที่สุดของจักรวรรดิออตโตมัน เป็นเวลานานถึง 46 ปี สุลต่านสุลัยมานเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1494 ที่ทราบซอนในประเทศตุรกี เป็นพระราชโอรสในสุลต่านเซลิมที่ 1 และฮาฟซา ฮาทุน (Hafsa Hatun) ทรงเสกสมรสตามกฎหมายกับร็อกเซลานา หรือเฮอร์เรมสุลต่าน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อราววันที่ 5/6 กันยายน ค.ศ. 1566 ที่ Szigetvár ในประเทศฮังการีปัจจุบัน หลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชโอรสของพระองค์กับเฮอร์เรมสุลต่านก็ขึ้นครองราชย์เป็นสุลต่านเซลิมที่ 2 สุลต่านสุลัยมานเป็นพระมหากษัตริย์องค์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีบทบาทสำคัญไม่เพียงแต่ในจักรวรรดิออตโตมันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงททวีปยุโรปด้วย พระองค์มีพระบรมราชานุภาพอันยิ่งใหญ่ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ ทรงเป็นผู้นำทัพด้วยพระองค์เองในการสงครามหลายครั้งและทรงได้รับชัยชนะในสงครามหลายครั้งที่รวมทั้งต่อเบลเกรด โรดส์ และ ฮังการีเกือบทั้งหมด แต่มาทางพ่ายแพ้ในการล้อมกรุงเวียนนาในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาวตุรกีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ชาวตุรกีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บอลข่านศาสนาอิสลามสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันสุลต่านเซลิมที่ 1 แห่งจักรวรรดิออตโตมันทวีปยุโรปประเทศตุรกีเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา

บอลข่าน

แผนที่ทางอากาศของคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หมายถึงดินแดนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 550,000 ตร.กม. และมีประชากรรวมกันราว 53 ล้านคน ชื่อนี้มาจากชื่อของเทือกเขาบอลข่านที่พาดผ่านใจกลางประเทศบัลแกเรียไปยังด้านตะวันออกของสาธารณรัฐเซอร์เบี.

ชาวตุรกีและบอลข่าน · บอลข่านและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ชาวตุรกีและศาสนาอิสลาม · ศาสนาอิสลามและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน

ลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน หรือ สุลต่านเมห์เหม็ดผู้พิชิต (Mehmed II หรือ Fatih Sultan Mehmet) (30 มีนาคม ค.ศ. 1432 – 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1481) เป็นสุลต่านหรือพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิออตโตมันผู้ครองราชย์สองครั้ง ครั้งแรกระหว่างปี ค.ศ. 1444 จนถึงปี ค.ศ. 1446 และครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 1451 จนถึงปี ค.ศ. 1481 เมื่อมีพระชนมายุได้ 21 สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 ก็ทรงตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลแตกเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453 ซึ่งเป็นการสิ้นสุดของจักรวรรดิไบแซนไทน์ หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงดำเนินการศึกต่อไปและทรงได้รับชัยชนะในเอเชียซึ่งเป็นการรวมอานาโตเลีย และทรงได้รับชัยชนะในยุโรปไปจนถึงเบลเกรด พระปรีชาสามารถทางด้านการบริหารคือการผสานระบบการบริหารของจักรวรรดิไบแซนไทน์ให้เข้ามาอยู่ในระบบเดียวกับจักรวรรดิออตโตมัน.

ชาวตุรกีและสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน · สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านเซลิมที่ 1 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน

ลต่านเซลิมที่ 1 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน หรือ สุลต่านเซลิมผู้กล้าหาญ (Selim I, I.Selim) (10 ตุลาคม ค.ศ. 1465/ค.ศ. 1466/ค.ศ. 1470 – 22 กันยายน ค.ศ. 1520) พระนามมีสร้อยว่า “Yavuz” ที่แปลว่า “ผู้กร้าว” มีพระนามเต็มว่า “Yavuz Sultan Selim” เซลิมทรงเป็นสุลต่านแห่งจักรวรรดิออตโตมันผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1512 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1520 Retrieved on 2007-09-16 พระองค์เป็นพระราชโอรสของสุลต่านเบเยซิดที่ 2 และ Ayşe Hatun จาก Dulkadir และเป็นพระราชบิดาของสุลต่านสุลัยมานมหาร.

ชาวตุรกีและสุลต่านเซลิมที่ 1 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน · สุลต่านเซลิมที่ 1 แห่งจักรวรรดิออตโตมันและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ชาวตุรกีและทวีปยุโรป · ทวีปยุโรปและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ชาวตุรกีและประเทศตุรกี · ประเทศตุรกีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

เฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา

รดดิน บาร์บารอสซา หรือ บาร์บารอสซา เฮย์เรดดิน ปาชา (Barbaros Hayreddin Paşa หรือ Hızır Hayreddin Paşa หรือ Hızır Reis ก่อนที่จะเป็นปาชา, Hayreddin Barbarossa) (ราว ค.ศ. 1478 - (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1546) เฮย์เรดดิน บาร์บารอสซาเป็นนักการทหารคนสำคัญชาวตุรกี ผู้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นปาชา (Pasha) และผู้บังคับบัญชากองทัพเรือของจักรวรรดิออตโตมันผู้มีอิทธิพลในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเป็นเวลาหลายสิบปี เฮย์เรดดินเกิดบนเกาะมิดิลลิ (เกาะเลสโบสในประเทศกรีซปัจจุบัน) และเสียชีวิตในคอนสแตนติโนเปิลในจักรวรรดิออตโตมัน ชื่อเดิมของเฮย์เรดดินคือ “Yakupoğlu Hızır” (ฮิเซียร์ลูกของยาคุป) ชื่อ “เฮย์เรดดิน” خير الدين แปลว่า “ความดีของศาสนา” เป็นชื่อเกียรติยศที่ได้รับพระราชทานจากสุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมัน และมาเป็นที่รู้จักกันว่า “Barbarossa” (หนวดแดง) ในยุโรปซึ่งเป็นชื่อที่รับช่วงต่อจากพี่ชายคนโนโอรุค ไรส์ (Oruç Reis) หรือที่เรียกว่า “บาบาโอรุค” หลังจากที่โอรุคถูกสังหารในการต่อสู้กับสเปนในอัลจีเรีย ชื่อของโอรุคฟังตามหูชาวยุโรปแล้วใกล้เคียงกับคำว่า “บาร์บารอสซา” ซึ่งทำให้ได้รับสมญานามทั้งที่ไม่ได้มีหนวดสีแดงแต่อย่างใ.

ชาวตุรกีและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา · สุลัยมานผู้เกรียงไกรและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาวตุรกีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ชาวตุรกี มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ สุลัยมานผู้เกรียงไกร มี 186 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 3.45% = 7 / (17 + 186)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวตุรกีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »