โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวกอทและชาวเบอร์กันดี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาวกอทและชาวเบอร์กันดี

ชาวกอท vs. ชาวเบอร์กันดี

อตาลันด์ทางใต้ของสวีเดนที่อาจจะเป็นต้นกำเนิดของชนกอท ชาวกอท (Goths) เป็นชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออกที่มีที่มาจากกึ่งตำนานสแกนด์ซา (Scandza) ที่เชื่อกันว่าอยู่ในบริเวณที่เป็นเยอตาลันด์ (Götaland) ในสวีเดนปัจจุบัน ชนกอทข้ามทะเลบอลติกก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 2 มายังบริเวณที่ได้รับชื่อว่ากอทิสแกนด์ซา (Gothiscandza) ที่เชื่อว่าอยูในบริเวณตอนใต้ของบริเวณวิสตูลาในพอเมอเรเลีย (Pomerelia) ในโปแลนด์ปัจจุบัน อารยธรรมวีลบาร์ค (Wielbark culture) เป็นอารยธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการเริ่มมาตั้งถิ่นฐานของชนกอทและการกลืนตัวกับชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณนั้น ตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 2 เป็นต้นมากลุ่มชนกอทก็เริ่มโยกย้ายถิ่นฐานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ตามลำวิสตูลาแม่น้ำวิสตูลาไปจนถึงซิทเธีย (Scythia) บนฝั่งทะเลดำ ในยูเครนปัจจุบัน และได้ทิ้งร่องรอยทางโบราณคดีไว้ในวัฒนธรรมเชอร์นยาคอฟ (Chernyakhov culture) ตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 3 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ชนกอทซิทเธียก็แยกเป็นสองกลุ่ม: เทอร์วิงกิ (Thervingi) และ กรูทุงกิ (Greuthungi) แบ่งแยกกันโดยแม่น้ำนีสเตอร์ (Dniester River) ในช่วงเวลานี้ชนกอทก็รุกรานจักรวรรดิโรมันเป็นระยะ ๆ ระหว่างสมัยที่เรียกว่าสงครามกอทิก ต่อมาชนกอทก็ยอมรับคริสต์ศาสนา ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ฮั่นก็มารุกรานดินแดนกอททางตะวันออก ชนกอทบางกลุ่มถูกปราบปรามและในที่สุดก็เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิฮันนิค (Hunnic Empire) อีกกลุ่มหนึ่งถูกผลักดันเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 และที่ 6 ชนกอทก็แยกตัวออกเป็นวิซิกอทและออสโตรกอท ทั้งสองกลุ่มก่อตั้งรัฐที่มีอำนาจหลังจากจักรวรรดิโรมันในคาบสมุทรไอบีเรียและอิตาลี ชนกอทหันมานับถือคริสต์ศาสนาลัทธิแอเรียน โดยวูลฟิลานักสอนศาสนาครึ่งกอทผู้ต่อมาย้ายไปตั้งถิ่นฐานในเมอเซีย (ต่อมาเป็นบริเวณในบัลแกเรีย) กับกลุ่มผู้ติดตาม วูลฟิลาแปลพระคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษากอทิค แม้ว่ากอทจะมีอำนาจในคาบสมุทรไอบีเรียและอิตาลีแต่ก็มาพ่ายแพ้ต่อจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ผู้พยายามฟื้นฟูจักรวรรดิโรมันขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ต่อมากอทก็ถูกรุกรานโดยชนแวนดัล (Vandals) และต่อมาชนลอมบาร์ด การที่มีการติดต่อกับประชาชนโรมันของอดีตจักรวรรดิโรมันอยู่เป็นเวลานานทำให้ในที่สุดกอทก็เปลี่ยนไปยอมรับนิกายโรมันคาทอลิก ความเสื่อมโทรมของกลุ่มชนกอทมาเร่งให้เร็วขึ้นเมื่อได้รับความพ่ายแพ้ต่อมัวร์เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 ภาษาและวัฒนธรรมของกอทก็เริ่มสูญหายไป นอกจากบางส่วนที่ไปปรากฏในวัฒนธรรมอื่น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 กลุ่มออสโตรกอทที่หลงเหลืออยู่ก็ไปปรากฏตัวที่ไครเมีย แต่การบ่งถึงเชื้อชาติก็ไม่เป็นที่แน่นอน. วบูร์กอญ (Burgundians, Burgundiones) เป็นชาติพันธุ์ในกลุ่มชนเจอร์มานิคตะวันออกที่อาจจะอพยพมาจากแผ่นดินใหญ่สแกนดิเนเวียมายังเกาะบอร์นโฮล์ม (Bornholm) ซึ่งยังเรียกเป็นภาษานอร์สโบราณว่า “Burgundarholmr” หรือ “เกาะของชาวบูร์กอญ” จากนั้นก็ไปยังแผ่นดินใหญ่ยุโรป ใน ตำนานของทอร์ชไตน์ลูกไวกิง (Þorsteins saga Víkingssonar) เวเซติตั้งถิ่นฐานบนเกาะที่เรียกว่าเกาะของบอร์กันด์ หรือ บอร์นโฮล์ม คำแปลของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชของงานเขียนของโอโรเซียส (Orosius) ใช้คำว่า “Burgenda land” หรือ “ดินแดนของเบอร์เกนดา” กวีและนักตำนานวิทยาวิคเตอร์ ริดเบิร์ก (Viktor Rydberg) (ค.ศ. 1828–ค.ศ. 1895), ใน Our Fathers' Godsaga กล่าวอ้างจากแหล่งข้อมูลจากต้นยุคกลาง ตำนานชีวิตของนักบุญซิจิมุนด์แห่งบูร์กอญ (Sigismund of Burgundy) ว่าชาวบูร์กอญยังคงรักษาวัฒนธรรมการบอกเล่าต่อๆ กันมาเกี่ยวกับบรรพบุรุษที่มาจากสแกนดิเนเวี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาวกอทและชาวเบอร์กันดี

ชาวกอทและชาวเบอร์กันดี มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): แม่น้ำวิสวา

แม่น้ำวิสวา

รรจบกันของแม่น้ำวิสวาและแม่น้ำนาแรฟที่มอดลิน แม่น้ำวิสวา (Wisła) หรือ แม่น้ำวิสตูลา (Vistula) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวและมีความสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศโปแลนด์ โดยมีความยาว 1,047 กิโลเมตร ลุ่มแม่น้ำวิสวาคิดเป็น 194,424 ตารางกิโลเมตร ซึ่งกว่า 168,699 ตารางกิโลเมตรอยู่ในประเทศโปแลน.

ชาวกอทและแม่น้ำวิสวา · ชาวเบอร์กันดีและแม่น้ำวิสวา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาวกอทและชาวเบอร์กันดี

ชาวกอท มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ ชาวเบอร์กันดี มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.57% = 1 / (19 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาวกอทและชาวเบอร์กันดี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »