โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาลส์ มิงกัสและอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาลส์ มิงกัสและอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส

ชาลส์ มิงกัส vs. อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส

ลส์ "ชาร์ลี" มิงกัส จูเนียร์ (22 เมษายน ค.ศ. 1922 - 5 มกราคม ค.ศ. 1979) นักดับเบิลเบสแจ๊สชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรี นักแต่งเพลง หัวหน้าวง และนักต่อสู้เพื่อต่อต้านการแบ่งแยกสีผิว ชาลส์ มิงกัส เกิดในค่ายทหารในรัฐแอริโซนา เติบโตที่ลอสแอนเจลิสในครอบครัวที่เคร่งศาสนา มารดามีเชื้อสายจีนและอังกฤษ ส่วนบิดามีเชื้อสายชาวผิวดำ และสวีเดน มิงกัสเริ่มหัดเล่นดนตรีแจ๊สจากความชื่นชอบในดนตรีของดุ๊ก เอลลิงตัน โดยเริ่มหัดเล่นทรอมโบน ก่อนจะหันมาเล่นเชลโล และดับเบิลเบสในระหว่างเรียนชั้นมัธยม พร้อมกับเริ่มแต่งเพลงด้วยตัวเอง โดยได้รับอิทธิพลจากดนตรีของชาร์ลี พาร์กเกอร์ ในวัย 20 ปี มิงกัสเริ่มออกตระเวนแสดงร่วมกับหลุยส์ อาร์มสตรอง ตั้งแต.. อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส (amyotrophic lateral sclerosis (ALS) หรือ โรคของเซลล์ประสาทสั่งการ motor neuron disease (MND)), โรคชาร์โคต์ (Charcot disease) หรือ โรคลู เกห์ริก (Lou Gehrig's disease) เป็นโรคเสื่อมของระบบประสาทชนิดหนึ่งซึ่งมีสาเหตุได้หลายอย่าง มีลักษณะเฉพาะคือเกิดการฝ่อของกล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดกล้ามเนื้อเกร็งและอ่อนแรงลงเรื่อยๆ มีอาการพูดลำบาก กลืนลำบาก หายใจลำบาก โดย ALS เป็นโรคของเซลล์ประสาทสั่งการที่พบบ่อยที่สุด จากโรคในกลุ่มนี้ 5 โรค อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ หรือความผิดปกติของเซลล์ประสาทนำคำสั่ง จึงทำให้กล้ามเนื้อตามแขนและขาอ่อนแรงลง กลืนลำบาก พูดไม่ชัด โดยเซลล์เหล่านี้มีอยู่ในไขสันหลังและสมอง เมื่อเซลล์เสื่อมค่อย ๆ ตายไปในที่สุด ในทางการแพทย์มีอีกชื่อว่า "โรคของเซลล์ประสาทนำคำสั่ง" (motor neuron disease; MND) หรือ "โรคเซลล์ประสาทนำคำสั่งเสื่อม" ในสหรัฐอเมริกาจะรู้จักกันดีในชื่อว่า "Lou Gehrig's Disease" (ลู-เก-ริก) ซึ่งตั้งชื่อโรคตามชื่อนักเบสบอลที่มีชื่อเสียงที่เป็นโรคนี้ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาลส์ มิงกัสและอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส

ชาลส์ มิงกัสและอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กล้ามเนื้อเซลล์ประสาท

กล้ามเนื้อ

การจัดลำดับของกล้ามเนื้อโครงสร้าง กล้ามเนื้อ (muscle; มาจากภาษาละติน musculus "หนูตัวเล็ก") เป็นเนื้อเยื่อที่หดตัวได้ในร่างกาย เปลี่ยนแปลงมาจากเมโซเดิร์ม (mesoderm) ของชั้นเนื้อเยื่อในตัวอ่อน และเป็นระบบหนึ่งของร่างกายที่สำคัญต่อการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย แบ่งออกเป็นกล้ามเนื้อโครงร่าง (skeletal muscle), กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle), และกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) ทำหน้าที่หดตัวเพื่อให้เกิดแรงและทำให้เกิดการเคลื่อนที่ (motion) รวมถึงการเคลื่อนที่และการหดตัวของอวัยวะภายใน กล้ามเนื้อจำนวนมากหดตัวได้นอกอำนาจจิตใจ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น การบีบตัวของหัวใจ หรือการบีบรูด (peristalsis) ทำให้เกิดการผลักดันอาหารเข้าไปภายในทางเดินอาหาร การหดตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจมีประโยชน์ในการเคลื่อนที่ของร่างกาย และสามารถควบคุมการหดตัวได้ เช่นการกลอกตา หรือการหดตัวของกล้ามเนื้อควอดริเซ็บ (quadriceps muscle) ที่ต้นขา ใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจแบ่งกว้างๆ ได้เป็น 2 ประเภทคือ กล้ามเนื้อ fast twitch และกล้ามเนื้อ slow twitch กล้ามเนื้อ slow twitch สามารถหดตัวได้เป็นระยะเวลานานแต่ให้แรงน้อย ในขณะที่กล้ามเนื้อ fast twitch สามารถหดตัวได้รวดเร็วและให้แรงมาก แต่ล้าได้ง.

กล้ามเนื้อและชาลส์ มิงกัส · กล้ามเนื้อและอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์ประสาท

ซลล์ประสาท หรือ นิวรอน (neuron,, หรือ) เป็นเซลล์เร้าได้ด้วยพลัง ของเซลล์อสุจิที่ทำหน้าที่ประมวลและส่งข้อมูลผ่านสัญญาณไฟฟ้าและเคมี โดยส่งผ่านจุดประสานประสาท (synapse) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อโดยเฉพาะกับเซลล์อื่น ๆ นิวรอนอาจเชื่อมกันเป็นโครงข่ายประสาท (neural network) และเป็นองค์ประกอบหลักของสมองกับไขสันหลังในระบบประสาทกลาง (CNS) และของปมประสาท (ganglia) ในระบบประสาทนอกส่วนกลาง (PNS) นิวรอนที่ทำหน้าที่โดยเฉพาะ ๆ รวมทั้ง.

ชาลส์ มิงกัสและเซลล์ประสาท · อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิสและเซลล์ประสาท · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาลส์ มิงกัสและอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส

ชาลส์ มิงกัส มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 6.25% = 2 / (25 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาลส์ มิงกัสและอะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »