ชายคาและเรือนไทย
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ชายคาและเรือนไทย
ชายคา vs. เรือนไทย
ือส่วนของหลังคาที่ยื่นออกจากตัวอาคาร ทำหน้าที่ป้องกันแดด และฝน ในงานสถาปัตยกรรมไทย เช่นเรือนไทย หรือโบสถ์ ฯลฯ ส่วนที่เป็นจันทันเอก ที่ยื่นออกมาเป็นชายคา มักจะมีไม้ค้ำยัน หรือคันทวย ที่ค้ำยันส่วนยื่นนี้ไว้เพื่อความแข็งแรงของโครงหลังคา และเพิ่มความสวยงามให้แก่อาคาร ที่ปลายของชายคามักจะปิดทับหัวจันทันส่วนปลายด้วยวัสดุ เรียกกันว่าเชิงชาย และจะมีวัสดุปิดเชิงชายอีกชิ้นหนึ่ง เรียกว่า ปิดเชิงชาย หรือปิดนก โดยทั่วไปมักจะเป็นไม้เนื้อแข็ง แต่ในปัจจุบันจะมีวัสดุประเภทไม้เทียม ซึ่งเป็นวัสดุทำเลียนแบบไม้ ซึ่งมีความคงทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศได้ดี เชิงชายส่วนของชายคาด้านสกัดของอาคารจะเรียกว่าปั้นลม ในอาคารเรียนไทยจะเรียกส่วนของปั้นลมนี้ว่า ตัวเหง. รือนไทย แสงอรุณ สยามสมาคม กรุงเทพ เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเรือนเครื่องสับภาคกลางผสมกับการตกแต่งด้วยเครื่องลำยอง เรือนไทย คือบ้านทรงไทย ที่แต่เดิมที่นิยมใช้วัสดุจำพวกไม้ ไปจนถึงเครื่องก่ออิฐถือปูน โดยมีลักษณะร่วมที่เหมือนหรือแตกต่างกันไปตามแต่ละภาค ได้แก่ เรือนไทยภาคเหนือ เรือนไทยภาคกลาง เรือนไทยภาคอีสาน และ เรือนไทยภาคใต้ ซึ่งล้วนสอดคล้องกับการดำรงชีวิตของคนไทยในสมัยก่อนและแสดงออกถึงภูมิปัญญาไทย ทั้งนี้องค์ประกอบที่มีผลต่อรูปแบบเรือนไทยมีทั้งเรื่องสภาพแวดล้อม ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ อาชีพ ฐานะความเป็นอยู่ คติความเชื่อและศาสนาในแต่ละภูม.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชายคาและเรือนไทย
ชายคาและเรือนไทย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ชายคาและเรือนไทย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชายคาและเรือนไทย
การเปรียบเทียบระหว่าง ชายคาและเรือนไทย
ชายคา มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ เรือนไทย มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 21)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชายคาและเรือนไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: