โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชานัคยาและอิบน์ ค็อลดูน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชานัคยาและอิบน์ ค็อลดูน

ชานัคยา vs. อิบน์ ค็อลดูน

นัคยาหรือจาณักยะ (ประมาณ 370–283 ก่อนคริสตกาล) เป็นครูนักปรัชญาของอินเดียและเป็นพระอาจารย์ทึ่ปรึกษาส่วนพระองค์ของกษัตริย์อินเดีย แต่เดิมชานัคยาเป็นศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทางการเมืองที่ตักศิลา ต่อมาเขาได้ช่วยพระเจ้าจันทรคุปต์ก่อตั้งจักรวรรดิเมารยะ ชานัคยาจึงได้เป็นที่ปรึกษาส่วนพระองค์ของพระเจ้าจันทรคุปต์ ต่อมาได้เป็นที่ปรึกษาของพระเจ้าพินทุสาร โอรสของพระเจ้าจันทรคุปต์ในเวลาต่อมา และเป็นผู้สนับสนุนพระเจ้าอโศกมหาราชในการขึ้นครองร. อะบู ซัยด์ อับดุรเราะห์มาน บิน มุฮัมมัด บิน ค็อลดูน อัลฮัฎเราะมี (أبو زيد عبد الرحمن بن محمد بن خلدون الحضرمي; 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1332 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1406) เป็นนักประวัติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์นิพนธ์มุสลิมชาวตูนิเซียเชื้อสายอัลอันดะลุส และได้รับการยกย่องจากนักวิชาการหลายคนว่าเป็นหนึ่งในบิดาแห่งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์นิพนธ์ สังคมวิทยา และเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ อิบน์ ค็อลดูน เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากผลงานที่มีชื่อว่า อัลมุก็อดดิมะฮ์ ซึ่งได้รับการค้นพบ ประเมินค่า และตระหนักถึงคุณค่าเป็นครั้งแรกในวงวิชาการของยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ผลงานชิ้นดังกล่าวก็มีอิทธิพลอย่างมากต่อนักประวัติศาสตร์ชาวออตโตมันในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อย่างฮัจญี เคาะลีฟะฮ์ และมุศเฏาะฟา นะอีมา ซึ่งอาศัยทฤษฎีของเขาในการวิเคราะห์ความเจริญรุ่งเรืองและความเสื่อมถอยของจักรวรรดิออตโตมันเช่นกัน ภายหลังในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักวิชาการตะวันตกจึงยอมรับว่าอิบน์ ค็อลดูน เป็นหนึ่งในบรรดานักปรัชญาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดจากโลกมุสลิม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชานัคยาและอิบน์ ค็อลดูน

ชานัคยาและอิบน์ ค็อลดูน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชานัคยาและอิบน์ ค็อลดูน

ชานัคยา มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ อิบน์ ค็อลดูน มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชานัคยาและอิบน์ ค็อลดูน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »