เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ชาตินิยมและสงครามอังกฤษ-อิรัก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาตินิยมและสงครามอังกฤษ-อิรัก

ชาตินิยม vs. สงครามอังกฤษ-อิรัก

ชาตินิยม (nationalism) คืออุดมการณ์ที่สร้างและบำรุงรักษาชาติในลักษณะที่เป็นมโนทัศน์ แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มของมนุษย์ ตามบางทฤษฎี การรักษาลักษณะพิเศษของอัตลักษณ์ การเป็นอิสระในทุก ๆ เรื่อง การกินดีอยู่ดี และการชื่นชมความยิ่งใหญ่ของชาติตนเอง ล้วนจัดว่าเป็นคุณค่าพื้นฐานของความเป็นชาตินิยม นักชาตินิยมวางพื้นฐานของความเป็นชาติอยู่บนแนวคิดเกี่ยวกับความชอบธรรมทางการเมืองหลายๆ ประการ โดยความชอบธรรมนั้นอาจสร้างขึ้นผ่านทางทฤษฎีโรแมนติกของ "อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม" การให้เหตุผลเชิงเสรีนิยมที่กล่าวว่า ความชอบธรรมทางการเมืองนั้น เกิดจากการยอมรับของประชากรในท้องถิ่นนั้น ๆ หรืออาจจะเป็นการผสมผสานระหว่างสองสิ่งนี้ การใช้คำว่า ชาตินิยม ในสมัยใหม่ มักหมายถึงการใช้อำนาจทางการเมือง (และทหาร) ของกลุ่มชาตินิยมเชิงเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ชนเผ่าหรือเชิงศาสนา นักรัฐศาสตร์โดยทั่วไปแล้วมีแนวโน้มที่จะวิจัยและมุ่งเป้าไปที่รูปแบบสุดขั้วของชาตินิยม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสังคมนิยมเชิงชาตินิยม การแบ่งแยกดินแดน และอื่น ๆ หมวดหมู่:ทฤษฎีการเมือง หมวดหมู่:คตินิยมเชื้อชาติ หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์. งครามอังกฤษ-อิรัก(2-31 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นการทัพทางทหารของอังกฤษเข้าปะทะกับรัฐบาลกบฏของ Rashid Ali ในราชอาณาจักรอิรักในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพครั้งนี้ทำให้อิรักถูกยึดครองกลับคืนโดยจักรวรรดิอังกฤษ และการกลับคืนสู่อำนาจของจักรวรรดิอังกฤษที่ถูกขับไล่ได้เป็นมิตรกับผู้สำเร็จราชการแห่งอิรัก เจ้าชาย Abd al-Ilah.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาตินิยมและสงครามอังกฤษ-อิรัก

ชาตินิยมและสงครามอังกฤษ-อิรัก มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาตินิยมและสงครามอังกฤษ-อิรัก

ชาตินิยม มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ สงครามอังกฤษ-อิรัก มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (7 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาตินิยมและสงครามอังกฤษ-อิรัก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: