โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาตินิยมและลัทธิคลั่งชาติ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชาตินิยมและลัทธิคลั่งชาติ

ชาตินิยม vs. ลัทธิคลั่งชาติ

ชาตินิยม (nationalism) คืออุดมการณ์ที่สร้างและบำรุงรักษาชาติในลักษณะที่เป็นมโนทัศน์ แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มของมนุษย์ ตามบางทฤษฎี การรักษาลักษณะพิเศษของอัตลักษณ์ การเป็นอิสระในทุก ๆ เรื่อง การกินดีอยู่ดี และการชื่นชมความยิ่งใหญ่ของชาติตนเอง ล้วนจัดว่าเป็นคุณค่าพื้นฐานของความเป็นชาตินิยม นักชาตินิยมวางพื้นฐานของความเป็นชาติอยู่บนแนวคิดเกี่ยวกับความชอบธรรมทางการเมืองหลายๆ ประการ โดยความชอบธรรมนั้นอาจสร้างขึ้นผ่านทางทฤษฎีโรแมนติกของ "อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม" การให้เหตุผลเชิงเสรีนิยมที่กล่าวว่า ความชอบธรรมทางการเมืองนั้น เกิดจากการยอมรับของประชากรในท้องถิ่นนั้น ๆ หรืออาจจะเป็นการผสมผสานระหว่างสองสิ่งนี้ การใช้คำว่า ชาตินิยม ในสมัยใหม่ มักหมายถึงการใช้อำนาจทางการเมือง (และทหาร) ของกลุ่มชาตินิยมเชิงเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ชนเผ่าหรือเชิงศาสนา นักรัฐศาสตร์โดยทั่วไปแล้วมีแนวโน้มที่จะวิจัยและมุ่งเป้าไปที่รูปแบบสุดขั้วของชาตินิยม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสังคมนิยมเชิงชาตินิยม การแบ่งแยกดินแดน และอื่น ๆ หมวดหมู่:ทฤษฎีการเมือง หมวดหมู่:คตินิยมเชื้อชาติ หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์. ลัทธิคลั่งชาติ (Chauvinism) เป็นความรักประเทศชาติมากเกิน ตามตำนาน ทหารฝรั่งเศส นีโกลัส โชแว็ง (Nicolas Chauvin) ได้รับบาดเจ็บสาหัสในสงครามนโปเลียน เขาได้บำนาญจากการบาดเจ็บของเขาแต่ไม่เพียงพอดำรงชีพ หลังนโปเลียนสละราชสมบัติ โชแว็งเป็นผู้นิยมโบนาปาร์ต (Bonapartist) อย่างคลั่งไคล้แม้มุมมองนี้ไม่ได้รับความนิยมในประเทศฝรั่งเศสสมัยการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง การอุทิศตนอย่างมืดบอดเด็ดเดี่ยวต่ออุดมการณ์ของเขา แม้ถูกกลุ่มแยกของเขาปฏิเสธและศัตรูก่อกวน เริ่มการใช้คำนี้ ลัทธิคลั่งชาติขยายจากการใช้ดั้งเดิมให้รวมการอุทิศตนอย่างคลั่งไคล้และลำเอียงอย่างไม่เหมาะสม (undue partiality) ต่อกลุ่มหรืออุดมการณ์ใด ๆ ที่ตนจัดเป็นส่วนหนึ่ง โดยเฉพาะการถือพรรคพวก (partisanship) ซึ่งมีความเดียดฉันท์หรือเป็นปรปักษ์ต่อคนนอกหรือกลุ่มคู่แข่งและคงอยู่แม้เผชิญกับการคัดค้านอย่างท่วมท้น คุณสมบัติแบบฝรั่งเศสนี้ขนานกับคำบริติชว่า คติรักชาติแบบใฝ่สงคราม (jingoism) ซึ่งคงความหมายของลัทธิคลั่งชาติอย่างเคร่งครัดในความหมายดั้งเดิม นั่นคือ ทัศนคติชาตินิยมแบบทำสงคราม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชาตินิยมและลัทธิคลั่งชาติ

ชาตินิยมและลัทธิคลั่งชาติ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชาตินิยมและลัทธิคลั่งชาติ

ชาตินิยม มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ ลัทธิคลั่งชาติ มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (7 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชาตินิยมและลัทธิคลั่งชาติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »