โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชะนีมือดำและรายการสัตว์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชะนีมือดำและรายการสัตว์

ชะนีมือดำ vs. รายการสัตว์

นีมือดำ (Agile gibbon, Black-handed gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates agilis จัดเป็นหนึ่งในสี่ชนิดของชะนีที่สามารถพบได้ในประเทศไทย ชะนีมือดำดั้งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของชะนีมือขาวหรือชะนีธรรมดา (H. lar) เช่นเดียวกับชะนีมงกุฎ (H. pileatus) แต่เมื่อมีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่ามีบางอย่างที่แตกต่างออกไป เช่น เสียงร้องที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะกว่าและการแพร่กระจายพันธุ์ จึงจัดให้เป็นชนิดใหม่ ชะนีมือดำมีลักษณะทั่วไปคล้ายกับชะนีมือขาว โดยสีของลำตัวจะมีทั้งสีเทา, ดำ และสีน้ำตาลแก่ ซึ่งความแตกต่างของสีนี้จะไม่เกี่ยวกับเพศหรือวัยเช่นเดียวกับในชะนีมือขาว โดยที่ตัวใดเกิดเป็นสีใดก็จะเป็นสีนั้นไปตลอด ชะนีมือดำจะแตกต่างจากชะนีมือขาวตรงที่ขนที่มือและเท้าเป็นสีดำ อันเป็นที่มาของชื่อ บริเวณกระหม่อมแบนกว่า และมีขนข้างส่วนหัวยาวกว่า ทำให้เวลาดูทางด้านหน้าส่วนหัวจะเป็นรูปสามเหลี่ยม ในขณะที่ส่วนหัวของชะนีมือขาวจะดูเป็นรูปกลม มีการแพร่กระจายพันธุ์ในประเทศไทย เฉพาะในป่าดิบภาคใต้ตอนล่างที่ติดกับมาเลเซียเท่านั้น จากนั้นจะพบได้ตลอดทั้งแหลมมลายู จนถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ขณะที่นิเวศวิทยาและพฤติกรรมก็คล้ายคลึงกับชะนีชนิดอื่น ๆ สถานะการอนุรักษ์ในอนุสัญญาไซเตสจัดให้อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) คือ ห้ามค้าขายหรือมีไว้ครอบครองเด็ดขาด เว้นแต่จะเป็นไปเพื่อการศึกษาหรือวิจัยขยายพัน. รายชื่อสัตว์ เป็นการรวบรวมรายชื่อของสัตว์ทุกไฟลัมและสปีชีส์ไว้ เพื่อเป็นการสะดวกต่อค้นหา การศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสัตว์ ได้แก่ สัตว์บก • สัตว์น้ำ • สัตว์ปีก • สัตว์เลื้อยคลาน • สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก เรียงตามลำดับตัวอักษร สำหรับผู้ที่จะเพิ่มเติมรายชื่อสัตว์ ขอให้เรียงลำดับตามตัวอักษร เพื่อให้ง่ายต่อการเพิ่มเติมรายชื่อ ในส่วนของรายชื่อสัตว์ที่มีคนเริ่มเขียนบทความแล้วดูได้ที่ หมวดหมู่ รายชื่อสัตว์ และ สัตว์ที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ หมวดหมู่:สัตว์.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชะนีมือดำและรายการสัตว์

ชะนีมือดำและรายการสัตว์ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชะนีชะนีมือขาวชะนีมงกุฎสัตว์สปีชีส์

ชะนี

นี (วงศ์: Hylobatidae; Gibbons; ภาษาเหนือ: อี่ฮุย, อี่วุย) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับวานร (Primates) เป็นลิงไม่มีหาง ซึ่งชะนีถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Hylobatidae และถูกจัดให้เป็น 1 ใน 4 ลิงที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด (ประกอบไปด้วย ชะนี, ชิมแปนซี, อุรังอุตัง, กอริลลา ซึ่งชะนีมีความใกล้เคียงมนุษย์น้อยที่สุดในบรรดาทั้ง 4 นี้ เนื่องจากมีแขนขาเรียวยาว มีฟันเขี้ยวที่แหลมคม และใช้ชีวิตหากินอยู่บนต้นไม้มากกว่าพื้นดิน) ซึ่งนับว่าชะนีมีแขนที่ยาวที่สุดในบรรดาสัตว์อันดับวานรทั้งหมด และมีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Myers, P. 2000.

ชะนีและชะนีมือดำ · ชะนีและรายการสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีมือขาว

นีมือขาว หรือ ชะนีธรรมดา (Common gibbon, White-handed gibbon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอันดับวานร (Primates) ชนิดหนึ่ง จัดเป็นลิงไม่มีหางชนิดหนึ่ง จำพวกชะนี (Hylobatidae).

ชะนีมือขาวและชะนีมือดำ · ชะนีมือขาวและรายการสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

ชะนีมงกุฎ

thumb thumb thumb thumb ชะนีมงกุฎ หรือ ชะนีเอี๊ยมดำ (Pileated gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates pileatus เดิมเคยถูกจัดเป็นชนิดย่อยของชะนีมือขาว (H. lar) แต่มีพฤติกรรมและลักษณะบางอย่างต่างออกไป รวมถึงเสียงร้องด้วย โดยสีขนจะแตกต่างออกไปตามเพศและช่วงอายุ ตัวผู้ในช่วงวัยรุ่นจะมีสีขนเหลือง เมื่ออายุ 3-4 ปี จะเปลี่ยนเป็นสีดำทั่วตัวยกเว้นคิ้ว ถุงอัณฑะ หลังมือ หลังเท้า และวงรอบใบหน้า ส่วนตัวเมียมีสีขาวนวลเหมือนเดิม แต่ที่หน้าอกและบนหัวมีสีดำ แลดูคล้ายใส่เอี๊ยม หรือผ้ากันเปื้อน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ พบอาศัยอยู่ในแถบประเทศลาวและกัมพูชา ทางด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำโขง สำหรับในประเทศไทยพบทางภาคตะวันออก เช่น จังหวัดสุรินทร์, บุรีรัมย์, ปราจีนบุรี, จันทบุรี, ตราด และในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มักอาศัยอยู่ในป่าดิบที่มียอดไม้สูงและรกชัฏ อาหารหลัก คือ ผลไม้, ใบไม้, แมลงและสัตว์เลื้อยคลาน ดื่มน้ำโดยใช้วิธีการเลียตามขนตัวเองและหาตามโพรงไม้ ออกลูกครั้งละ 1 ตัว เมื่อลูกชะนีอายุได้ 1 ปี จะเริ่มออกจากอกแม่ห้อยโหนไปมาด้วยตัวเอง ซึ่งต่างจากชะนีมือขาวที่จะเกาะอยู่กับอกแม่จนอายุได้ 2 ปี และเมื่อลูกอายุได้ 2-3 ปี แม่ชะนีมงกุฎจะเริ่มผสมพันธุ์อีกครั้ง ลูกชะนีโดยเฉพาะตัวผู้จะถูกขับไล่ออกจากฝูงเร็วกว่าตัวเมีย และจะอยู่ตามลำพังจนกระทั่งหาคู่ผสมพันธุ์ได้ ชะนีมงกุฎในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีการผสมข้ามพันธุ์กับชะนีมือขาว จนเกิดเป็นชะนีลูกผสมซึ่งมีลักษณะรูปร่างที่แตกต่างออกไป รวมถึงเสียงร้องด้วย อันเนื่องจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นับเป็นสถานที่แห่งเดียวในโลก ที่มีชะนีทั้ง 2 ชนิดนี้อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน.

ชะนีมงกุฎและชะนีมือดำ · ชะนีมงกุฎและรายการสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

ชะนีมือดำและสัตว์ · รายการสัตว์และสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

สปีชีส์

ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).

ชะนีมือดำและสปีชีส์ · รายการสัตว์และสปีชีส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชะนีมือดำและรายการสัตว์

ชะนีมือดำ มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายการสัตว์ มี 333 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 1.39% = 5 / (26 + 333)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชะนีมือดำและรายการสัตว์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »