เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ชวลิต อภัยวงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชวลิต อภัยวงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

ชวลิต อภัยวงศ์ vs. สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

วลิต อภัยวงศ์ เป็นอดีตรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระตะบอง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี. มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 91 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 91 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามที่รัฐบาลเสนอ เพื่อให้ลงโทษผู้ก่อให้เกิดการปกครองตามลัทธิคอมมิวนิสต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชวลิต อภัยวงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

ชวลิต อภัยวงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บุญเท่ง ทองสวัสดิ์การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481จังหวัดชลบุรีจังหวัดพระตะบองควง อภัยวงศ์ใหญ่ ศวิตชาติโชติ คุ้มพันธ์เลียง ไชยกาล

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ชวลิต อภัยวงศ์และบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481และชวลิต อภัยวงศ์ · การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

จังหวัดชลบุรีและชวลิต อภัยวงศ์ · จังหวัดชลบุรีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

จังหวัดพระตะบองและชวลิต อภัยวงศ์ · จังหวัดพระตะบองและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ควง อภัยวงศ์และชวลิต อภัยวงศ์ · ควง อภัยวงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ใหญ่ ศวิตชาติ

นายใหญ่ ศวิตชาติ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2450 – 12 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม, อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ชวลิต อภัยวงศ์และใหญ่ ศวิตชาติ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3และใหญ่ ศวิตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โชติ คุ้มพันธ์

ร.โชติ คุ้มพันธ์ ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษา เข้าสมัครเป็นเสมียนกรมศุลกากร ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อาสาสมัครเข้าเป็นพลทหาร ตำแหน่งพลขับ เมื่อกลับมาแล้วรับจ้างเป็นกะลาสีในเรือ แล้วจึงไปเรียนต่อที่ประเทศเยอรมนี สถานที่เคยอาสาไปรบ จนกระทั่งเรียนจนได้ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อกลับมาแล้วเข้าทำงานธนาคาร โดยเป็นผู้หนึ่งที่ริเริ่มตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้น ในทางการเมือง ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรประเภทที่ 1 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของไทย และเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตย โดยมีสมาชิกคนสำคัญเช่น นายสอ เสถบุตร, ร้อยโทจงกล ไกรฤกษ์ เป็นต้น เคยถูกจับกุมในข้อหากบฏคิดล้มล้างรัฐบาลในกรณีกบฏพระยาทรงสุรเดช ได้ถูกพิพากษาให้จำคุกตลอดชีวิต หลังจากนั้นไม่กี่ปีก็ถูกเนรเทศไปจำที่ทัณฑนิคมเกาะเต่า สุราษฎร์ธานี พร้อมกับหม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน นักโทษการเมืองคดีเดียวกันอีกคนที่หนึ่งด้วย เมื่อพ้นโทษออกมา ได้กลับมาสู่เส้นทางทางการเมืองใหม่ ได้รับฉายาว่า "ผู้แทนคนยาก" เนื่องจากเป็นผู้ที่ริเริ่มการหาเสียงด้วยโทรโข่ง ไปพบปะกับชาวบ้านด้วยการเดินหาเสียงตามบ้านเรือน ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489 เนื่องจากไม่มีทุนรอนในการหาเสียง จึงใช้วิธีตะโกนพูดผ่านโทรโข่งบนอานรถสามล้อถีบ พูดท่ามกลางชุมชนตามตลาดบ้าง ตามลานวัดเก่า ๆ บ้าง มีคนถีบสามล้อเป็นขบวนนำ หยุดพูดที่ไหนก็ให้ ดร.โชติ ยืนสองเท้าเหยียบบนอานรถสองคันตะโกนใส่ลำโพง โดยหาเสียงไปพร้อมกับ นายควง อภัยวงศ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ซึ่งต่างก็ใช้วิธีด้วยเช่นกัน ต่อมา เมื่อมีการก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ขึ้น ดร.โชติ คุ้มพันธ์ ได้เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย โดยยุบพรรคประชาธิปไตยของตนเข้าร่วมกับพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนจะเกิดเหตุการณ์รัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดให้มีงานการกุศลที่สวนอัมพร ดร.โชติ ได้เป็นผู้ถีบรถสามล้อ โดยมี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นั่ง เพื่อเก็บเงินเพื่อการกุศลด้วย หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน นายควง อภัยวงศ์ สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์หลายคนได้ลาออกจากพรรคไป ดร.โชติ เป็นหนึ่งในสมาชิกพรรคที่ลาออกไปด้วย และถึงแก่กรรมลงอย่างเงียบ ๆ ในปี 2514.

ชวลิต อภัยวงศ์และโชติ คุ้มพันธ์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3และโชติ คุ้มพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เลียง ไชยกาล

นาย เลียง ไชยกาล นักการเมืองไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยและอดีตหัวหน้าพรรคประชาชน เป็นผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ของจังหวัดอุบลราชธานี นายเลียง เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ชวลิต อภัยวงศ์และเลียง ไชยกาล · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3และเลียง ไชยกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชวลิต อภัยวงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

ชวลิต อภัยวงศ์ มี 34 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 มี 141 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 4.57% = 8 / (34 + 141)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชวลิต อภัยวงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: