โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโอฬาร ไชยประวัติ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโอฬาร ไชยประวัติ

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล vs. โอฬาร ไชยประวัติ

วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 หลังนายสมชายพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและถูกตัดสิทธิทางการเมืองจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชนเป็นเวลา 5 ปี ด้วยคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551. อฬาร ไชยประวัติ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นนักการเมืองสังกัดพรรคเพื่อไทย ในสมัยรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดร.โอฬารเป็นเหตุสำคัญในคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเพราะมีผลประโยชน์ทับซ้อนกรณีการแปรรูป บม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโอฬาร ไชยประวัติ

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโอฬาร ไชยประวัติ มี 16 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555กอร์ปศักดิ์ สภาวสุมิ่งขวัญ แสงสุวรรณศาสนาพุทธสมชาย วงศ์สวัสดิ์สหัส บัณฑิตกุลสุวิทย์ คุณกิตติสุเทพ เทือกสุบรรณสนั่น ขจรประศาสน์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58ประเทศไทยนายกรัฐมนตรีโกวิท วัฒนะเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2551 · พ.ศ. 2551และโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2554 · พ.ศ. 2554และโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2555 · พ.ศ. 2555และโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2492 เป็นบุตรของ นายประมวล สภาวสุ อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และคุณหญิงศรีประพาฬ สภาวสุ นายกอร์ปศักดิ์เป็นบุตรคนโต มีพี่น้องอีก 4 คนคือ นางศิริณี สภาวสุ, นายกุมพล สภาวสุ, นางจารุวรรณ กัลยางกูร และนายประโภชณ์ สภาวสุ นายกอร์ปศักดิ์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยม จากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล เมื่อ..

กอร์ปศักดิ์ สภาวสุและชวรัตน์ ชาญวีรกูล · กอร์ปศักดิ์ สภาวสุและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · มิ่งขวัญ แสงสุวรรณและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและศาสนาพุทธ · ศาสนาพุทธและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · สมชาย วงศ์สวัสดิ์และโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

สหัส บัณฑิตกุล

หัส บัณฑิตกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตรองผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสหัส บัณฑิตกุล · สหัส บัณฑิตกุลและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสุวิทย์ คุณกิตติ · สุวิทย์ คุณกิตติและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสุเทพ เทือกสุบรรณ · สุเทพ เทือกสุบรรณและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสนั่น ขจรประศาสน์ · สนั่น ขจรประศาสน์และโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58และชวรัตน์ ชาญวีรกูล · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58และโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและประเทศไทย · ประเทศไทยและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและนายกรัฐมนตรี · นายกรัฐมนตรีและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนะ

ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโกวิท วัฒนะ · โกวิท วัฒนะและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโอฬาร ไชยประวัติ

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล มี 68 ความสัมพันธ์ขณะที่ โอฬาร ไชยประวัติ มี 42 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 16, ดัชนี Jaccard คือ 14.55% = 16 / (68 + 42)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโอฬาร ไชยประวัติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »