เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

ดัชนี ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.

สารบัญ

  1. 68 ความสัมพันธ์: ชวรัตน์ ชาญวีรกูลชวลิต ยงใจยุทธบุญจง วงศ์ไตรรัตน์พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พรรคชาติพัฒนาพรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทยกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กรุงเทพกอร์ปศักดิ์ สภาวสุกองอาสารักษาดินแดนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มิ่งขวัญ แสงสุวรรณยงยุทธ วิชัยดิษฐรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)ศาสนาพุทธสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมพงษ์ อมรวิวัฒน์สมัคร สุนทรเวชสหัส บัณฑิตกุลสัปปายะสภาสถานสุวิทย์ คุณกิตติสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุเทพ เทือกสุบรรณสนั่น ขจรประศาสน์สนธิ บุญยรัตกลินอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอนุทิน ชาญวีรกูลทักษิณ ชินวัตรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551ประเทศไทยนายกรัฐมนตรีนายกรัฐมนตรีไทย... ขยายดัชนี (18 มากกว่า) »

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและชวรัตน์ ชาญวีรกูล

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและชวลิต ยงใจยุทธ

บุญจง วงศ์ไตรรัตน์

นายกองเอกบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ (เกิด: 14 มกราคม 2504–ปัจจุบัน) อดีตรองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 1 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและบุญจง วงศ์ไตรรัตน์

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2539

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2540

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2551

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2552

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2554

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพ.ศ. 2555

พรรคชาติพัฒนา

อาจหมายถึง.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพรรคชาติพัฒนา

พรรคพลังประชาชน

อาจหมายถึง.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพรรคพลังประชาชน

พรรคภูมิใจไทย

รรคภูมิใจไทย (ย่อว่า: ภท.) ก่อตั้งเมื่อ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 มี นายพิพัฒน์ พรมวราภรณ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก นายมงคล ศรีอ่อน เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก และนางวันเพ็ญ ขวัญวงศ์ เป็นโฆษกพรรคคนแรก ในปัจจุบันมีนาย อนุทิน ชาญวีรกูล เป็นหัวหน้าพรรคนาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นเลขาธิการพรรค และนางวาว ศุภมาศ อิศรภักดี เป็นโฆษกพรร.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและพรรคภูมิใจไทย

กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงพาณิชย์ (Ministry of Commerce) เป็นกระทรวงหนึ่งของประเทศไทยที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการค้า ธุรกิจบริการ ทรัพย์สินทางปัญญา และราชการอื่นๆ ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ตั้งอยู่ที่ 44/100 ถนนสนามบินน้ำ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและกรุงเทพ

กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและกองอาสารักษาดินแดน

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ตัวย่อ กฟผ. (Electricity Generating Authority of Thailand) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงพลังงาน มีหน้าที่ผลิตไฟฟ้าใช้ภายในประเทศไทย ในปี..

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

ยงยุทธ วิชัยดิษฐ

งยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมที่ดิน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานกรรมการการประปานครหลวง อดีตประธานกรรมการตรวจสอบของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมั.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและยงยุทธ วิชัยดิษฐ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ของไท.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หรือ วปอ. เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของประเทศ ขึ้นตรงกับสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม มีหน้าที่จัดการศึกษาหลักสูตรเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติและการป้องกันราชอาณาจักร ให้แก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน พนักงานองค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ รวมทั้งเอกชน โดยฝึกปฏิบัติการวางแผนและนโยบายระดับชาติ การพัฒนายุทธศาสตร์ชาต.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)

ลรัฐธรรมนูญ (ย่อ: ศร.) เป็นองค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญที่ยุบเลิกไป และมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและศาสนาพุทธ

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสมชาย วงศ์สวัสดิ์

สมพงษ์ อมรวิวัฒน์

นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน สังกัดพรรคพลังประชาชน อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และอดีตแกนนำกลุ่ม 16.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสมพงษ์ อมรวิวัฒน์

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสมัคร สุนทรเวช

สหัส บัณฑิตกุล

หัส บัณฑิตกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตรองผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสหัส บัณฑิตกุล

สัปปายะสภาสถาน

ัปปายะสภาสถาน เป็นโครงการก่อสร้างรัฐสภาแห่งใหม่ของประเทศไทยและแห่งที่ 3 ของประเทศไทยแทนที่อาคารเดิมบริเวณข้างสวนสัตว์ดุสิต โครงการก่อสร้างตั้งอยู่ติดริ่มฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บนถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต โครงการได้ริเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสัปปายะสภาสถาน

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสุวิทย์ คุณกิตติ

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสุเทพ เทือกสุบรรณ

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสนั่น ขจรประศาสน์

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและสนธิ บุญยรัตกลิน

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อนุทิน ชาญวีรกูล

นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทย กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นนักการเมืองที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ซึ่งถูกยุบในปี พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและอนุทิน ชาญวีรกูล

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและทักษิณ ชินวัตร

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551

ียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551 เป็นคดีที่เป็นคดีที่พรรคชาติไทย พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคพลังประชาชน (2 ใบแดง) ถูกฟ้องเป็นจำเลยอันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและประเทศไทย

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและนายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและนายกรัฐมนตรีไทย

โกวิท วัฒนะ

ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโกวิท วัฒนะ

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโรงเรียนอัสสัมชัญ

โอฬาร ไชยประวัติ

อฬาร ไชยประวัติ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นนักการเมืองสังกัดพรรคเพื่อไทย ในสมัยรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดร.โอฬารเป็นเหตุสำคัญในคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเพราะมีผลประโยชน์ทับซ้อนกรณีการแปรรูป บม.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโอฬาร ไชยประวัติ

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

ไชยา สะสมทรัพย์

มทรัพย์ (18 กันยายน พ.ศ. 2495 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและไชยา สะสมทรัพย์

ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม

ูลย์ วัฒนศิริธรรม (24 มีนาคม พ.ศ. 2484 — 9 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ใน รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและเฉลิม อยู่บำรุง

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ14 กุมภาพันธ์

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ16 ธันวาคม

2 สิงหาคม

วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ2 สิงหาคม

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ2 ธันวาคม

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ20 ธันวาคม

23 กันยายน

วันที่ 23 กันยายน เป็นวันที่ 266 ของปี (วันที่ 267 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 99 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ23 กันยายน

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ24 กันยายน

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ4 กันยายน

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ6 กุมภาพันธ์

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ดู ชวรัตน์ ชาญวีรกูลและ9 สิงหาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ชวรัตน์ ชาญวีระกุล

โกวิท วัฒนะโรงเรียนอัสสัมชัญโอฬาร ไชยประวัติโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ไชยา สะสมทรัพย์ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรมเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเฉลิม อยู่บำรุง14 กุมภาพันธ์16 ธันวาคม2 สิงหาคม2 ธันวาคม20 ธันวาคม23 กันยายน24 กันยายน4 กันยายน6 กุมภาพันธ์9 สิงหาคม