เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จู เวินและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จู เวินและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

จู เวิน vs. ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

ปฐมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง (後梁太祖; 852–912) ชื่อตัวว่า จู เฉฺวียนจง (朱全忠) ชื่อเมื่อเกิดว่า จู เวิน (朱溫) ชื่อรองว่า จูสาม (朱三) และชื่ออื่นว่า จู หฺวั่ง (朱晃) เป็นขุนศึกจีนในราชวงศ์ถังซึ่งโค่นราชวงศ์ถังในปี 907 ตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลัง แล้วขึ้นเป็นกษัตริย์องค์แรก เป็นอันเริ่มสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร จู เวิน สามารถยึดครองจีนภาคกลางไว้ได้เกือบทั้งหมด และพยายามรวมแผ่นดินภาคเหนือ แผ่นดินส่วนที่เหลือจึงอยู่ในความครอบครองของอีกสี่ราชวงศ์ที่ตั้งขึ้นในโอกาสเดียวกัน จู เวิน ถูกจู โหย่วกุย (朱友珪) ลูกชาย ฆ่าทิ้งในปี 912 เพื่อชิงบัลลังก์ จู โหย่วกุย ก็ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร. ราชวงศ์โฮ่วเหลียง (เหลียงยุคหลัง) (Later Liang Dynasty) (ค.ศ. 907 - 923) ถูกสถาปนาโดยจูเวินหรือจูเหวียนจง (ค.ศ.852-912) ผู้โค่นล้มราชวงศ์ถัง เดิมเหลียงไท่จู่ (จูเหวียนจง)เป็นหนึ่งในขุนพลของกองทัพกบฏหวงเฉา ต่อมาได้สวามิภักดิ์กับราชวงศ์ และร่วมมือกับหลี่เค่อยัง หัวหน้าเผ่าซาถัวปราบปรามกบฏจนหมดสิ้น และได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่า เหวียนจง แปลว่าผู้ซื่อสัตย์จงรักภักดี ต่อมาเขาเริ่มมีอิทธิพลในราชสำนักและในที่สุดเขาก็ปลดจักรพรรดิถังอัยตี้ จักรพรรดิองค์สุดท้ายลงจากราชบัลลังก์ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุดลง และเขาก็ได้สถาปนาตนเอง ขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่งราชวงศ์โฮ่วเหลียง พระนามว่าจักรพรรดิเหลียงไท่จู่ ราชวงศ์นี้เป็นราชวงศ์แรกในยุคที่เรียกว่า ยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร แต่ราชวงศ์นี้มีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์ หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จู เวินและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

จู เวินและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรราชวงศ์ถังจักรพรรดิถังไอจู โหย่วกุย

ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร

ตอนปลายราชวงศ์ถังมีการก่อกบฏประชาชนตามชายแดน ขันทีครองอำนาจบริหารบ้านเมืองอย่างเหิมเกริม มีการแย่งชิงอำนาจกัน แม่ทัพจูเวิน (จูเฉวียนจง) สังหารขันทีทรงอำนาจในราชสำนัก แล้วสถาปนาตนเป็นจักรพรรดิ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุด บรรดาหัวเมืองต่างๆมีการแบ่งอำนาจกันเป็นห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร คือ ราชวงศ์เหลียง ถัง จิ้น ฮั่น และโจว โดยปกครองแถบลุ่มน้ำฮวงโหติดต่อกันมาตามลำดับ ส่วนเขตลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงกับดินแดนทางใต้ลงไปเกิดเป็นรัฐอิสระอีก 10 รัฐ รวมเรียกว่า สิบอาณาจักร การแบ่งแยกอำนาจปกครองยุคนี้ขาดเสถียรภาพ ชีวิตของประชาชนเต็มไปด้วยความลำบากยากแค้น ต่อม..

จู เวินและยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร · ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

จู เวินและราชวงศ์ถัง · ราชวงศ์ถังและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไอ

มเด็จพระจักรพรรดิถังไอตี้ (ค.ศ. 904-907, พ.ศ. 1447-1450) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

จักรพรรดิถังไอและจู เวิน · จักรพรรดิถังไอและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

จู โหย่วกุย

จู โหย่วกุย (朱友珪; ค.ศ. 888? – 27 มีนาคม 913) ชื่อรองว่า เหยา สี่ (遙喜) และบรรดาศักดิ์ว่า องค์ชายอิ่ง (郢王) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์เหลียงยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร จู โหย่วกุย เป็นบุตรของจู เวิน ปฐมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง จู โหย่วกุย ฆ่าบิดาเอาบัลลังก์ในปี 912 ไม่กี่เดือนให้หลัง จู โหย่วเจิน (朱友貞) น้องชาย ก็ก่อกบฏชิงบัลลังก์ จู โหย่วกุย จึงชิงฆ่าตัวตาย จู โหย่วเจิน ก็ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ปิตุฆาต.

จู เวินและจู โหย่วกุย · จู โหย่วกุยและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จู เวินและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

จู เวิน มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 20.00% = 4 / (6 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จู เวินและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: