โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย vs. โครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ. รงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Advanced Placement Program: CUAP Program) เป็นโครงการที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มจัดให้มีขึ้น โดยได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย เมื่อปี 2546 เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีศักยภาพเพียงพอ ได้มีโอกาสเรียนในรายวิชาของนิสิตชั้นปีที่ 1 โรงเรียนที่ได้สิทธิเข้าร่วมโครงการนี้ คือ โรงเรียนเครือข่ายวิชาการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนสาธิตปทุมวัน โดยมหาวิทยาลัยจะร่วมกับโรงเรียน พัฒนาหลักสูตรใน 7 รายวิชา คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ และ คอมพิวเตอร์ นักเรียนที่สอบผ่านโครงการนี้ อาจได้รับการพิจารณาเข้าศึกษาต่อด้วยวิธีพิเศษ และเมื่อได้เข้าเรียนหลักสูตรปริญญาตรี จะได้รับการเทียบโอนรายวิชาที่สอบผ่านมาแล้ว และสามารถลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่สูงขึ้นไปได้ รวมทั้งมีสิทธิได้รับการพิจารณาเข้าโครงการต่างๆ ที่สนับสนุนผู้มีความสามารถพิเศษของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ นักเรียนยังจะได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมพัฒนาศักยภาพทางวิชาการตามความสนใจและความถนัดอย่างกว้างขวาง และในระยะยาวตามแผนดำเนินงานของมหาวิทยาลัย โครงการ CUAP Program นี้ ริเริ่มขึ้นในสมัยอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.ธัชชัย สุมิตร และได้เริ่มดำเนินการเรียนการสอนตั้งแต่ ปีการศึกษา 2547 ในสมัยอธิการบดี ศาสตราจารย์ ดร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สุชาดา กีระนันทน์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

สุชาดา กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ คุณหญิง สุชาดา กีระนันทน์ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกสภาฯ หญิงคนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมสถิติแห่งประเทศไทย, และอดีตอธิการบดีและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหญิงคนแรก.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุชาดา กีระนันทน์ · สุชาดา กีระนันทน์และโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน · โครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีประวัติการก่อตั้งโรงเรียนสืบเนื่องมาจาก "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดแผนกวิชาครุศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกหัดครู ชั้นประโยคครูมัธยม ครั้นต่อมาโรงเรียนมัธยมหอวังฯ ได้เปลี่ยนรูปงานเป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกวิชาครุศาสตร์จึงไม่มีโรงเรียนสำหรับฝึกหัดครูเป็นระยะเวลานานประมาณ 15 ปี เมื่อแผนกวิชาครุศาสตร์ขยายงานเป็น คณะครุศาสตร์ โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นคณบดีคนแรก ท่านได้เล็งเห็นความจำเป็นในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อการฝึกหัดครูขั้นปริญญาขึ้นแทนโรงเรียนมัธยมหอวังฯ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นโดยให้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2501 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายประถม และ ฝ่ายมัธยม.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · โครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · โครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 326 ความสัมพันธ์ขณะที่ โครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 1.51% = 5 / (326 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »