เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดัชนี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 325 ความสัมพันธ์: บัณฑิต จุลาสัยบัณฑิต เอื้ออาภรณ์บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยบาทหลวงฟุตบอลฟุตบอลยูลีกพ.ศ. 2516พ.ศ. 2545พระบรมมหาราชวังพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้าพระบรมรูปทรงม้าพระบรมวงศานุวงศ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระมหากษัตริย์ไทยพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระราชบัญญัติพระสงฆ์พระจุฑาธุชราชฐานพระตำหนักดาราภิรมย์พระปรมาภิไธยพระเกี้ยวพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์พลังงานแสงอาทิตย์พลังงานไฟฟ้าพิพิธภัณฑสถานพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)พิพิธภัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพพิกุลพิธีสำเร็จการศึกษากรมพลศึกษากระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬากระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกรีฑาสถานแห่งชาติกายวิภาคศาสตร์การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยการวิจัยการสืบพันธุ์การอนุมานการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.... ขยายดัชนี (275 มากกว่า) »

  2. การศึกษาในกรุงเทพมหานคร
  3. สถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร
  4. เขตปทุมวัน
  5. เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน

บัณฑิต จุลาสัย

ตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบัณฑิต จุลาสัย

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์

ตราจารย์ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนปัจจุบัน อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้บริหารและอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัณฑิตเป็นอธิการบดีคนที่ 2 ในวาระการดำรงตำแหน่งนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบัณฑิต เอื้ออาภรณ์

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นเพื่อดูแลหลักสูตรบัณฑิตศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเฉพาะหลักสูตรสหสาขา ซึ่งเป็นหลักสูตรที่หลายคณะร่วมกันจัดการเรียนการสอน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บาทหลวง

ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบาทหลวง

ฟุตบอล

ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่พาลูกฟุตบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ โดยกฎกติกาการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดย สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฟุตบอล

ฟุตบอลยูลีก

ลโก้ยูลีก ยูลีก (U League) หรือ ไทยแลนด์ยูนิเวอร์ซิตี้ลีก (Thailand University League) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมฟุตบอลสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย โดยมีการจัดครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฟุตบอลยูลีก

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2545

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบรมมหาราชวัง

พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า

ระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า หรือพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล เป็นอนุสรณ์สถานที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวาระครบรอบ 70 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประดิษฐานอยู่ด้านหน้าหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์ฯ เคยถูกใช้พิมพ์บนธนบัตรไทยแบบที่ 14 สกุลเงินบาท ชนิดราคา 100 บาท ผลิตออกใช้วันที่ 20 ตุลาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า

พระบรมรูปทรงม้า

right พระบรมรูปทรงม้า อยู่ระหว่างการปั้นในสตูดิโอในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบรมรูปทรงม้า ตั้งอยู่ที่ลานพระบรมรูปทรงม้า สร้างขึ้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยนำแบบอย่างมาจากพระบรมรูปของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ที่กรุงปารีส ด้วยฝีมือนายช่างชาวฝรั่งเศส บริษัท ซุซ แฟรส์ ฟองเดอร์ (Susse Frères Fondeur) ในวโรกาส ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบรมรูปทรงม้า

พระบรมวงศานุวงศ์

ระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ภายในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประกอบด้วย 2 คำ คือ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบรมวงศานุวงศ์

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระมหากษัตริย์ไทย

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (12 มีนาคม พ.ศ. 2423 – 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) นักการศึกษา ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 เมษายน พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระราชบัญญัติ

พระสงฆ์

ระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้ พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์ คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะได้บรรลุธรรมตามพระพุทธเจ้าสั่งสอนไว้ ถือเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา พระภิกษุปฏิบัติตามสิกขาบทที่กำหนดไว้จำนวน 227 ข้อ ส่วนพระภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ บางครั้งเรียกว่าสงฆ์ ภิกษุรูปแรกในพระศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าคือพระอัญญาโกณฑัญญ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระสงฆ์

พระจุฑาธุชราชฐาน

ระจุฑาธุชราชฐาน ตั้งอยู่ ณ เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี อดีตเคยเป็นพระราชวังฤดูร้อนในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากเหตุการณ์วิกฤต ร..112 ก็สิ้นสุดการเป็นเขตพระราชฐาน และมีหน่วยงานราชการต่าง ๆ มาขอใช้พื้นที่ ปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอใช้พื้นที่บางส่วนเพื่อเป็นสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต และทำหน้าที่ดูแลรักษาพระจุฑาธุชราชฐานไปในคราวเดียวกัน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระจุฑาธุชราชฐาน

พระตำหนักดาราภิรมย์

ระตำหนักดาราภิรมย์ เป็นพระตำหนักของเจ้าดารารัศมี พระราชชายา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชชายาเจ้าดารารัศมีโปรดให้ก่อสร้างขึ้นประมาณช่วงปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระตำหนักดาราภิรมย์

พระปรมาภิไธย

ระปรมาภิไธย อาจหมายถึง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระปรมาภิไธย

พระเกี้ยว

ระราชลัญจกรพระจุลมงกุฎ ประจำรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกทรงสวมพระเกี้ยวยอดในพระราชพิธีโสกันต์ พระเกี้ยวจำลอง ณ หอประวัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ เป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ และเป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้เพราะ พระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น คือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงกับพระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นั่นคือ "มงกุฎ" อีกทั้ง พระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังมีหมายความว่า "พระจอมเกล้าน้อย" อีกด้วย เมื่อพระนามาภิไธยเดิมและพระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความหมายว่าพระเกี้ยว หรือจุลมงกุฎ จึงได้ใช้พระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎวางบนเบาะ เป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลของพระอง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระเกี้ยว

พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)

ตราจารย์ พระเจริญวิศวกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ พระเจริญวิศวกรรม (26 เมษายน พ.ศ. 2438 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) มีนามเดิมว่า เจริญ เชนะกุล ปรมาจารย์หรือครูใหญ่ของเหล่าช่างทั้งปวง อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย และ บิดาแห่งการวิศวกรรมไทย นอกจากนั้นยังเป็น นายกคณะฟุตบอลแห่งสยาม คนที่ 5.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์

ันโทหญิง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ (ประสูติ: 8 มกราคม พ.ศ. 2530) เป็นนักกีฬาขี่ม้า, นักออกแบบเสื้อ และอดีตนักกีฬาแบตมินตันทีมชาติชาวไทย เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติแต่สุจาริณี วิวัชรวงศ์ (หรือยุวธิดา ผลประเสริฐ) อดีตนักแสดง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์

พลังงานแสงอาทิตย์

รงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์โดยใช้กระจกรวมแสงไปที่หอคอย พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานของแสงและพลังงานของความร้อนที่แผ่รังสีมาจากดวงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ พลังงานที่เกิดจากแสงและพลังงานที่เกิดจากความร้อน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพลังงานแสงอาทิตย์

พลังงานไฟฟ้า

รื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ทำงานได้เพราะกระแสไฟฟ้าเดินทางจากแหล่งกำเนิดผ่านสายไฟหรือลวดตัวนำ มายังหลอดไฟหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าก่อนย้อนกลับสู่แหล่งกำเนิดไฟฟ้าครบเป็นวงจร ดังนั้นวงจรไฟฟ้าจึงประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ลวดตัวนำ และเครื่องใช้ไฟฟ้.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพลังงานไฟฟ้า

พิพิธภัณฑสถาน

ท้องฟ้าจำลอง พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ พิพิธภัณฑ์ที่เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้แห่งแรกของโลก ตั้งอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส หอศิลป์อุฟฟีซี เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในอิตาลี เกาะพิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่เบอร์ลิน พิพิธภัณฑ์บริติช ตั้งอยู่ที่ลอนดอน พิพิธภัณฑ์อินเดีย ตั้งอยู่ที่โกลกาตา ประเทศอินเดีย เป็นพิพิธภัณฑเก่าและใหญ่ที่สุดในอินเดีย พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติฟินแลนด์ ตั้งอยู่ที่เฮลซิงกิ พิพิธภัณฑสถาน หรือ พิพิธภัณฑ์ เป็นอาคารหรือสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บรักษาวัตถุที่มนุษย์ทำขึ้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิพิธภัณฑสถาน

พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Museum of Natural History, Chulalongkorn University) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงตัวอย่างสิ่งมีชีวิต และทรัยากรธรรมชาติ อาทิเช่น โครงกระดูกของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ, ตัวอย่างเปลือกหอยต่างๆ ของไทย, ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย, ชีววิทยาของผึ้ง ตัวอย่างปลาในวรรณคดี, ตัวอย่างตะพาบม่านลาย ซึ่งพบในประเทศไทยแห่งเดียวในโลก, นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร และ ปูเจ้าฟ้า โดยพิพิธภัณฑ์แห่งนี้อยู่ภายใต้การดูแลของภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ห้องจัดแสดงชั้น 4: อุทยานจามจุรี พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงนิทรรศการถาวร เกี่ยวกับภาพรวมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในด้านต่าง ๆ ทั้งผลงานอันเกิดจากการวิจัย และองค์ความรู้ที่มหาวิทยาลัยได้ผลิตขึ้น ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย พัฒนาการทางด้านกายภาพ ความเป็นอยู่ของนิสิต ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมไทย อาคารแห่งนี้ เดิมเป็นอาคารเรียนของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชื่อว่า อาคารเคมี 3 เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ได้รับการปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อเฉลิมฉลองวาระ 100 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่จะมีขึ้นในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

พิพิธภัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายในเขตพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น นอกจากเป็นที่ตั้งของคณะต่าง ๆ แล้ว ยังมีพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ตามคณะต่าง ๆ เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดความรู้ทั้งในเชิงวิชาการและการอนุรักษ์ นอกจากนั้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ที่อยู่ในส่วนภูมิภาคด้วย ได้แก่ พิพิธภัณฑ์พระตำหนักดาราภิรมย์ จังหวัดเชียงใหม่ และพิพิธภัณฑ์พระจุฑาธุชราชฐาน จังหวัดชลบุรีด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิพิธภัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ

ัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ เป็นพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีภาพถ่ายและการพิมพ์ ตั้งอยู่ที่ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกของประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียที่จัดแสดงกล้องถ่ายภาพ ภาพถ่าย การพิมพ์และเทคโนโลยีทางภาพอื่น ๆ เป็นการเฉพาะและครบวงจร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ

พิกุล

กุล เป็นไม้ยืนต้น มีดอกหอม สีขาว มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ แก้ว (เชียงใหม่) ซางดง (ลำปาง) ตันหยง (นราธิวาส).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิกุล

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิธีสำเร็จการศึกษา

กรมพลศึกษา

กรมพลศึกษา (Department of Physical Education) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมพลศึกษา

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (Ministry of Tourism and Sports) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การกีฬา การศึกษาด้านกีฬา นันทนาการ และราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด ให้อำนาจหน้าที่ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรุงเทพมหานคร

กรีฑาสถานแห่งชาติ

กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรีฑาสถานแห่งชาติ

กายวิภาคศาสตร์

หัวใจและปอดของมนุษย์ ภาพจากหนังสือ ''Gray's Anatomy'' กายวิภาคศาสตร์ (anatomia, มาจาก ἀνατέμνειν ana: การแยก และ temnein: การตัดเปิด) เป็นแขนงหนึ่งของวิชาชีววิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต คำนี้หมายรวมถึงกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (human anatomy), กายวิภาคศาสตร์สัตว์ (animal anatomy หรือ zootomy) และกายวิภาคศาสตร์พืช (plant anatomy หรือ phytotomy) ในบางแง่มุมกายวิภาคศาสตร์ก็มีความเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งกับวิชาคัพภวิทยา (embryology), กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ (comparative anatomy) และคัพภวิทยาเปรียบเทียบ (phylogenetics หรือ comparative embryology) โดยมีรากฐานเดียวกันคือวิวัฒนาการ (evolution) กายวิภาคศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็นมหกายวิภาคศาสตร์ (gross anatomy หรือ macroscopic anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (microscopic anatomy) มหกายวิภาคศาสตร์ เป็นการศึกษาโครงสร้างทางกายวิภาคที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จุลกายวิภาคศาสตร์เป็นการศึกษาโครงสร้างทางกายวิภาคขนาดเล็กซึ่งต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ ได้แก่ มิญชวิทยา (histology) ซึ่งเป็นการศึกษาโครงสร้างของเนื้อเยื่อ และวิทยาเซลล์ (cytology) ซึ่งเป็นการศึกษาเซลล์ กายวิภาคศาสตร์มีประวัติศาสตร์เป็นเวลายาวนาน มีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะและโครงสร้างต่างๆ ของร่างกายอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกันกับวิธีการศึกษาที่พัฒนาอย่างรวดเร็วตั้งแต่การศึกษาจากสัตว์ไปจนถึงการชำแหละ (dissect) ศพมนุษย์ จนกระทั่งพัฒนาเทคนิคที่อาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในศตวรรษที่ 20 วิชากายวิภาคศาสตร์นั้นต่างจากพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology หรือ morbid anatomy) หรือจุลพยาธิวิทยา (histopathology) ซึ่งเป็นการศึกษาลักษณะทางมหภาคและจุลภาคของอวัยวะที่เป็นโร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกายวิภาคศาสตร์

การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

ระบบการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย (เรียกสั้น ๆ ว่า ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษา) เป็นระบบการรับสมัครบุคคลที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษามีการพัฒนามาตั้งแต่ปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

การวิจัย

อลิน เลวี วอร์เนอร์ (Olin Levi Warner) การวิจัยชูคบเพลิงแห่งความรู้ (พ.ศ. 2439) ห้องสมุดรัฐสภาสหรัฐฯ อาคารโทมัส เจฟเฟอร์สัน, วอชิงตัน ดีซี การวิจัย (research) หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพื่อค้นหาความจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระทำด้วยพื้นฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาล การวิจัยอาจต้องใช้หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้แรงผลักดันจากความอยากรู้อยากเห็น การวิจัยเป็นตัวสร้างข้อมูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และทฤษฎีที่มนุษย์นำมาใช้ในการอธิบายธรรมชาติและคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่าง ๆ มีความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่มเอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่าง ๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชาเฉพาะทาง คำว่าการวิจัยยังใช้หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวิชาการบางสาขาอีกด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการวิจัย

การสืบพันธุ์

การขยายพันธุ์ของคว่ำตายหงายเป็น การสืบพันธุ์ หรือ การขยายพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การเพิ่มจำนวนลูกหลานที่มีลักษณะเหมือนเดิมของสิ่งมีชีวิต โดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นนี้จะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ล้มหายตายจากไป ทำให้สิ่งมีชีวิตเหลือรอดอยู่ในโลกได้โดยไม่สูญพันธุ์ไป.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการสืบพันธุ์

การอนุมาน

การอนุมาน (inference) เป็นการคาดคะเนตามหลักเหตุผล ที่แบ่งออกเป็นแบบหลัก ๆ 3 อย่างคือ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการอนุมาน

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้เริ่มจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

การแปรอักษร

การแปรอักษร เป็นลำดับการปฏิบัติมีการวางแผนและประสานงานที่ผู้ชมแสดง โดยสมาชิกยกป้ายซึ่งเมื่อรวมกันแล้วสร้างเป็นภาพที่รับรู้ได้ ภาพที่สร้างนั้นมีได้หลากหลายและด้วยการวางแผนอย่างระวัง ป้ายเดียวกันสามารถสร้างภาพต่าง ๆ กันได้โดยเปลี่ยนวิธีการยกป้ายอย่างเป็นระบบ แม้ปัจจุบันมีการแสดงการแปรอักษรในหลายงานยตั้งแต่กีฬาไปจนการชุมนุมทางการเมือง การแปรอักษรมักสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอเมริกันฟุตบอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟุตบอลวิทยาลัย ตลอดจนฟุตบอล ทว่า เทศกาลอารีรังของเกาหลีเหนือเป็นครั้งแรกที่ขยายการแปรอักษรเป็นรูปแบบศิลปะ โดยใช้ป้ายสมุดพลิกเพื่อสร้างลำดับแอนิเมชันมหึมานานนับชั่วโมง การแปรอักษรในประเทศไทยมีขึ้นครั้งแรกในปี 2487 โดยเฉิด สุดาราแห่งโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็น "บิดาแห่งการแปรอักษร" โดยได้ความคิดมาจากศิลปะ Mosaic โดยการแปรอักษรครั้งแรกนั้น ม.เฉิดได้ให้นักเรียนแต่งชุดและหมวกสีขาวมานั่งเรียงเป็นพื้นแล้วเว้นช่องว่างเอาไว้เป็นคำว่า อ ส ช แล้วให้ยุวชนทหารใส่ชุดสีกากีแกมเชียวมานั่งให้เต็มทำให้เกิดเป็นคำว่า อ ส ช อย่างชัดเจนและมีการพัฒนาเรื่อยมาในการแข่งขันฟุตบอลประเพณีจตุรมิตรสามัคคี ตลอดจน งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ระยะแรกเป็นการแปรอักษรโดยใช้ผ้าสี มีการพัฒนาการแปรอักษรเป็นภาพเคลื่อนไหว โดยใช้ร่ม หรือการปรบมือซึ่งโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นผู้ริเริ่มรูปแบบนี้ขึ้น ประกอบการร้องเพลงเชียร์หรือการนับ ส่วนการแปรอักษรเป็นภาพสี ในระยะแรกเป็นสมุดสีเย็บติดบนแผ่นไม้อัด ไม้อัดหนึ่งแผ่นมีสมุดสี 9 เล่มต่อด้าน เรียกว่า "เพลท 1:9" เวลาแปรอักษรจะใช้เพลทวางบนตักของผู้แปร ปัจจุบันเพลทแปรอักษรมักเป็นสมุดสีเย็บติดบนโครงลวด เพื่อให้มีน้ำหนักเบา เก็บรักษาและเคลื่อนย้ายสะดวก และมีช่องให้ผู้แปรสามารถมองเห็นกิจกรรมในสนามด้วย ความละเอียด 1:16 เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการแปรอักษร

กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย

กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัย เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อาทิ การจัดการแข่งขันกีฬา งานด้านวิชาการ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการจัดงานระหว่างคณะเดียวกัน ในแต่ละมหาวิทยาลัยอีกด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (The University Sports of Thailand) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยเริ่มต้นจัดการแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

ก้ามปู

ก้ามปู, ฉำฉา หรือ จามจุรีแดง (มักเรียกสั้น ๆ ว่า จามจุรี) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Leguminosae) ในวงศ์ย่อย Minosoideae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านสาขามาก มีใบขนาดเล็ก ดอกสีชมพู มีผลเป็นฝัก เมล็ดแข็ง ผลมีเนื้อสีชมพู รสหวานสัตว์เคี้ยวเอื้องชอบกินเป็นอาหาร เป็นพืชพื้นเมืองของเม็กซิโก, บราซิล และเปรู ต่อมาได้ถูกนำเข้ามาเผยแพร่ในเอเชียใต้, เอเชียอาคเนย์, หมู่เกาะแปซิฟิก และฮาวาย เมล็ดเมื่อรับประทานทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน ถ้าเป็นพิษรุนแรง ทำให้ระบบไหลเวียนเลือดไม่สม่ำเสมอ ทำให้ชักได้ ก้ามปูต้นแรกในประเทศไทยปลูกอยู่ภายในโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยบาทหลวงรอมิเอล ซึ่งเป็นนักบวชที่อยู่ในวัดอัสสัมชัญ เป็นผู้นำพันธุ์มาจากเมืองไซ่ง่อน ประเทศเวียดนาม ต่อมาภายหลังก็เป็นที่แพร่หลายและนิยมนำมาปลูกเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่เพื่อให้ร่มเงา ดอกก้ามปู ก้ามปูหรือจามจุรีแดงเป็นต้นไม้ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา, โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย และเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดลำพูน นอกจากจามจุรีแดงและฉำฉาแล้ว ก้ามปูยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกตามแต่ละพื้นที่ ได้แก่ "ก้ามกราม" (กลาง), "ก้ามกุ้ง" (กทม., อุตรดิตถ์), "ตุ๊ดตู่" (ตราด), "ลัง" (เหนือ), "สารสา" (เหนือ), "สำสา" (เหนือ) และ "เส่คุ่" (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป็นต้นเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและก้ามปู

ภาษาบาลี

ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาษาบาลี

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาษาอังกฤษ

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาษาไทย

ภิรมย์ กมลรัตนกุล

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภิรมย์ กมลรัตนกุล

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ หรือ โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ วันที่ 1 กรกฎาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย

ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย (Universitas Indonesia) เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเดป๊อคและจาการ์ตา จัดตั้งโดยรัฐบาลอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ และถือว่าเป็นรากฐานของการพัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของอินโดนีเซียปัจจุบัน ทำให้มหาวิทยาลัยอินโดนีเซียเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในอินโดนีเซีย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกของคอกโครัลลีไซมอนส์ มหาวิทยาลัยอินโดนีเซียอยู่ในอันดับที่ 358 ของโลก และอันดับที่ 1 ของอินโดนีเซี.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-ok: Uthenthawai Campus) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 225 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีน้ำเงิน สีขาว คติพจน์ "ถ้าเรารักสมัครจิต ก็ต้องคิดสมัครมือ ถิ่นสีน้ำเงิน คือ ที่รวมรักสมัครคง".

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย

มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง

มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง (อักษรจีนตัวย่อ: 上海交通大学; อักษรจีนตัวเต็ม: 上海交通大學; พินอิน: Shànghǎi Jiāotōng Dàxué) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศจีน ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง

มหาจุฬาลงกรณ์

มหาจุฬาลงกรณ์ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 11 ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชชมรมนักร้องประสานเสียง สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาจุฬาลงกรณ์

มหาดเล็ก

มหาดเล็ก หมายถึง ข้าราชการในพระราชสำนัก โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า “......

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาดเล็ก

มหานคร (ตึกระฟ้า)

มหานคร เป็นตึกระฟ้าในรูปแบบอาคารประเภทใช้ประโยชน์ผสมผสาน ตั้งอยู่ติดกับสถานีช่องนนทรีของรถไฟฟ้าบีทีเอส บริเวณสีลมและสาทรซึ่งเป็นย่านธุรกิจที่สำคัญของกรุงเทพมหานคร ออกแบบให้เสมือนโอบล้อมด้วยริบบิ้น 3 มิติหรือ พิกเซล เป็นอาคารกระจกทั้งหลัง สร้างสรรค์โดยบริษัทสถาปนิกในกลุ่มบริษัท บูโร โอเล่อ เชียเรน กรุ๊ป อาคารมหานครเคยเป็นหนึ่งในตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทย ด้วยความสูง 314.2 เมตร จำนวน 77 ชั้นประกอบไปด้วยส่วนโรงแรม ร้านค้าปลีก และส่วนห้องชุดพักอาศัยโดยกลุ่มริทซ์-คาร์ลตัน จำนวน 209 หน่วย โดยราคาของห้องชุดดังกล่าว ราคาเฉลี่ย 3.5 แสนบาท/ตร.ม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหานคร (ตึกระฟ้า)

มะเร็ง

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมะเร็ง

มิชชันนารี

มิชชันนารีคาทอลิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสกำลังอำลาญาติพี่น้อง ก่อนออกเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ยังดินแดนตะวันออกไกล มิชชันนารี (missionary) คือ สมาชิกองค์การทางศาสนา ที่ถูกส่งไปยังต่างแดนเพื่อทำการประกาศข่าวดีและรับใช้พระผู้เป็นเจ้าหรือศาสนจักร ในงานด้านการศึกษา การรู้หนังสือ ความยุติธรรมทางสังคม สาธารณสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจThomas Hale 'On Being a Missionary' 2003, William Carey Library Pub, ISBN 0-87808-255-7 คำว่า "มิชชัน" มาจากภาษาละติน missionem ซึ่งแปลว่า การส่งออกไป มิชชันนารีมักทำงานรวมกันเป็นองค์กรเรียกว่า มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ มิสซัง (โรมันคาทอลิก) และเรียกสำนักงานของมิชชันนารีว่า ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมิชชันนารี

มิสยูลีก

มิสยูลีก (Miss U-League)หรือ มิสแคนนอนยูลีก (Miss Canon U-League) เป็นการประกวด นักศึกษาสาว ในงานฟุตบอลยูลีก โดยคัดเลือกจากนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการฟุตบอลยูลีก ผู้จัดการประกวดคือ บริษัท อาดามัส อินคอร์ปอเรชั่นจำกัด (มหาชน) ซึ่งได้เซ็นสัญญาคว้าลิขสิทธิ์โครงการยูลีกเป็นเวลา 3 ปี ด้วยงบประมาณกว่า 30 ล้านบาท โดยเริ่มตั้งแต่การแข่งกัน ฟุตบอลยูนิเวอร์ซิตี้ลีกปี 2007 เป็นต้นม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมิสยูลีก

มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) เป็นองค์กรวิจัยเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย จอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิอานันทมหิดล

ตราสัญลักษณ์ มูลนิธิอานันทมหิดล (Anandamahidol Foundation) เป็นมูลนิธิที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น เพื่อมุ่งส่งเสริมสนับสนุนนักศึกษาและบัณฑิตชาวไทยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการสาขาต่าง ๆ ให้ได้รับโอกาสไปศึกษาต่อเพิ่มเติม ณ ต่างประเทศ ในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้เป็นบุคคลชั้นนำของประเทศในสาขาวิชานั้น ๆ และนำความรู้ความเชี่ยวชาญกลับมารับใช้ประเทศชาติต่อไปหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับสูงสุดแล้ว ในระยะแรก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดตั้งทุนอานันทมหิดล และทรงเริ่มพระราชทานทุนในสาขาแพทยศาสตร์เป็นสาขาแรก ต่อมา ได้มีพระบรมราชวินิจฉัยให้เปลี่ยนสถานภาพจากทุนเป็นมูลนิธิ ชื่อ มูลนิธิอานันทมหิดล และได้ขยายขอบเขตการพระราชทานทุนเพิ่มขึ้นในหลายสาขา ครอบคลุมทั้งสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ชมรมผู้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมูลนิธิอานันทมหิดล

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมนุษยศาสตร์

ยง ภู่วรวรรณ

ตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยง ภู่วรวรรณ

ร (เรือ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 35 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ย (ยักษ์) และก่อนหน้า ล (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ร เรือ” อักษร ร เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /r/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ ร ที่เป็นพยัญชนะสะกดซึ่งตามหลังสระ ออ จะไม่ปรากฏตัวออ ให้ใช้ ร ต่อท้ายพยัญชนะต้นไปได้เลย เช่น กร (กอน) พร (พอน) ละคร (ละ-คอน) เป็นต้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและร

รักบี้

กรัม การรุมกันในกีฬารักบี้ รักบี้ฟุตบอล (Rugby Football) หรือเรียกย่อกันว่า รักบี้ เป็นกีฬาชนิดหนึ่งถือกำเนิดขึ้นจากโรงเรียนรักบี้ (Rugby School) ในเมืองรักบี้ ในเขตวอร์วิกเชียร์ ประเทศอังกฤษ เริ่มต้นจาก ในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักบี้

รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐศาสตร์

รัฐธรรมนูญ

มหากฎบัตร (Magna Carta) รัฐธรรมนูญ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบั..2525 ให้ความหมายว่า "รัฐธรรมนูญ" คือกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ ในความหมายอย่างแคบ "รัฐธรรมนูญ" กฎหมายฉบับหนึ่งหรือหลายฉบับซึ่งรวบรวมกฎเกณฑ์การปกครองประเทศขึ้นไว้ และไม่ใช่สิ่งเดียวกับ กฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะ "กฎหมายรัฐธรรมนูญ" มีความหมายกว้างกว่าและจะเป็นรูปแบบลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณีก็ได้ รัฐธรรมนูญในปัจจุบันนั้น มีทั้งเป็นลักษณะลายลักษณ์อักษร และลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยที่ลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร นอกจากจะใช้หลักของจารีต ประเพณีการปกครองแล้ว กฎหมายทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ย่อมถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญด้วย ทุกประเทศทั่วโลกมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ทั้งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมถึงประเทศที่ปกครองระบอบเผด็จการ เพื่อใช้เป็นหลักหรือเป็นแนวทางในการบริหารประเท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐธรรมนูญ

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและราชวงศ์จักรี

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งตามประเภทสถานศึกษ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลซีไรต์

ัญลักษณ์ของรางวัลซีไรต์ รางวัลซีไรต์ (S.E.A. Write) มีชื่อเต็มว่า รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (Southeast Asian Writers Award) เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลซีไรต์

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รถยนต์

องรถยนต์และรถบรรทุกยุคใหม่กำลังขับอยู่บนทางด่วนสายหนึ่ง รถสปอร์ตยุคใหม่ รถยนต์หมายถึง ยานพาหนะทางบกที่ขับเคลื่อนที่ด้วยพลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งและถ่ายทอดลงสู่ล้อ เพื่อพาผู้ขับ ผู้โดยสาร หรือสิ่งของ ไปยังจุดหมายปลายทาง ปัจจุบัน รถยนต์โดยส่วนมากได้รับการออกแบบอย่างซับซ้อนในทางวิศวกรรม และหลากหลายประเภท ตามความเหมาะสมของการใช้งาน หรือใช้สำหรับงานเฉพาะกิจ ทั้งนี้เว้นแต่รถไฟ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรถยนต์

รถโดยสารประจำทาง

รถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานคร Benz-Omnibus, 1896 รถโดยสารประจำทาง หรือที่นิยมเรียกกันว่า รถเมล์ เป็นระบบขนส่งมวลชนระบบหนึ่งที่ให้บริการบนถนน โดยมีลักษณะเป็นรถขนาดใหญ่ที่บรรทุกผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก โดยกำหนดเส้นทาง และส่วนใหญ่เรียกชื่อเส้นทางเป็นตัวเลข เช่น สาย1 สาย 2 และมีเก็บค่าโดยสารโดยวิธีต่างๆกันไป จำนวนผู้โดยสารบนรถเมล์จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับขนาดของรถ ตัวอย่างเช่นในประเทศเยอรมันมีรถเมล์ที่ยาวที่สุดในโลกบรรจุผู้โดยสารได้กว่า 200 คน รถโดยสารประจำทางมีเรียกกันหลายชื่อในประเทศไทยเช่น รถเมล์ รถทัวร์ รถสองแถว รถสองแถวใหญ่ หรือ รถสองแถวเล็ก หรือเรียกชื่อเฉพาะตามพื้นที่ เช่น รถสี่ล้อแดง เป็นชื่อเรียกทั้งรถโดยสารและรถรับจ้างในจังหวัดเชียงใหม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรถโดยสารประจำทาง

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

ล (ลิง) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 36 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ร (เรือ) และก่อนหน้า ว (แหวน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ล ลิง” อักษร ล เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /l/ พยัญชนะตัวสะกด ให้เสียง /n/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /l/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด หมวดหมู่:อักษรไทย.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและล

วัด

วัด, อาวาส หรือ อาราม คือคำเรียก ศาสนสถานของศาสนาพุทธในประเทศไทย กัมพูชา และลาว เป็นที่อยู่ของภิกษุ และประกอบศาสนกิจของพุทธศาสนิกชน ภายในวัดมีวิหาร อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฎิ เมรุ ซึ่งใช้สำหรับประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ เช่น การเวียนเทียน การสวดมนต์ การทำสมาธิ วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสามส่วนคือ พุทธาวาส สังฆาวาส และสัตวาส โดยส่วนพุทธาวาสจะเป็นที่ตั้งของสถูปเจดีย์ อุโบสถ สถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์สำหรับภิกษุสามเณรจำพรรษา ส่วนสัตวาสเป็นส่วนที่อนุญาตให้พุทธศาสนิกชนนำสัตว์เลี้ยงมาปล่อยเพื่อให้วัด และพระภิกษุสงฆ์สามเณรได้เลี้ยงดู และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่งอยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัด

วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร

วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร หรือ วัดราชาธิวาสวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ผูกพัทธสีมาเมื่อ..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร

วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร

วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเด่นคือเป็นวัดกลางเมือง ตั้งอยู่ระหว่างศูนย์การค้าสยามพารากอนและห้างเซ็นทรัลเวิลด์ วัดสถาปนาขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร

วังวินด์เซอร์

วังวินด์เซอร์ หรือที่รู้จักในชื่อ วังประทุมวัน, วังกลางทุ่ง หรือ วังใหม่ เป็นวังที่สร้างขึ้นโดยพระประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานเป็นสถานที่ประทับของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามบรมราชกุมารองค์แรกแห่งสยามประเทศ ตั้งอยู่บริเวณทุ่งประทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการขยายขอบเขตวังออกนอกเขตพระนคร จึงเป็นเหตุให้เรียกชื่อ วังกลางทุ่ง และสืบเนื่องจากตัววังที่เหมือนกับพระราชวังวินด์เซอร์ ที่ประเทศอังกฤษ จึงเป็นเหตุให้เรียกว่า วังวินด์เซอร์ วัง ถูกสร้างขึ้นในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวังวินด์เซอร์

วังไกลกังวล

วังไกลกังวล เป็น พระราชฐานในสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระองค์ สำนักพระราชวัง เป็นรโหฐานที่ประทับแปรพระราชฐานในต่างจังหวั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวังไกลกังวล

วันภาษาไทยแห่งชาติ

วันภาษาไทยแห่งชาติ หรือ วันภาษาไทย ตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในวันที่ 29 กรกฎาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวันภาษาไทยแห่งชาติ

วันลอยกระทง

วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญทางศาสนาฮินดูวันหนึ่งของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ บางปีเทศกาลลอยกระทงก็จะมาตรงกับเดือนตุลาคมด้วย เช่นปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวันลอยกระทง

วันทรงดนตรี

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จฯ ทรงดนตรี ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันทรงดนตรี เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินตามคำกราบบังคมทูลเชิญของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อทรงดนตรีและทรงสังสรรค์ร่วมกับนิสิตนักศึกษาเป็นการส่วนพระองค์ โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้ง สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ก็จะโดยเสด็จพระราชดำเนิน และทรงร่วมในการแสดงดนตรีด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวันทรงดนตรี

วันปิยมหาราช

วันปิยมหาราช (English: Chulalongkorn Day) ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช" ในวันปิยมหาราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ จะเสด็จฯ ไปวางพวงมาลา ณ พระบรมรูปทรงม้าซึ่งตั้งอยู่ที่หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นประจำทุกปี.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวันปิยมหาราช

วิสัญญีแพทย์

วิสัญญีแพทย์ (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน)) คือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญการให้ยาชาและยาสลบ โดยมักทำงานร่วมกับแพทย์ผ่าตัดเพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวดของคนไข้ก่อนทำการผ่าตัดเพียงชั่วคราว ผู้ที่จะเป็นวิสัญญีแพทย์ได้ต้องจบการศึกษาแพทยศาสตร์บัณฑิตก่อน แล้วจึงจะมาต่อเฉพาะทาง สาขาวิสัญญีวิทยา ใช้เวลาศึกษาประมาณ3ปี ส่วนพยาบาลก็สามารถเรียนรู้ฝึกทักษะเกี่ยวกับวิสัญญีวิทยาได้ โดยการฝึกเป็นวิสัญญีวิทยา ใช้เวลาในการศึกษษประมาณ1ปีและทำงานภายในการควบคุมดูแลของวิสัญญีแพทย์ หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:วิสัญญีวิทยา หมวดหมู่:แพทย์เฉพาะทาง หมวดหมู่:การแพทย์เฉพาะทาง หมวดหมู่:วิสัญญีแพทย์ sl:Anesteziolog.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิสัญญีแพทย์

วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ

วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ โรงพยาบาลตำรวจ สังกัด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นสถาบันสมทบของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีจุดประสงค์เพื่อผลิตบุคลากรทางการพยาบาลแก่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารสถาบัน 3 ที่ตั้งของวิทยาลัย วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานประเภทวิทยาลัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนเฉพาะหลักสูตรนานาชาติเท่านั้น มุ่งเน้นในงานวิชาการและการบริการทางวิชาการด้านสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เป็นส่วนงานของมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือกับองค์กรนานาชาติหลายแห่ง เช่น องค์การอนามัยโลกตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกับคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริเวณด้านหลังสยามสแควร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศ ที่เปิดสอนหลักสูตรประชากรศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้ ยังเปิด "ศูนย์สารสนเทศทางประชากรศาสตร์" เพื่อให้บริการด้านการเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการและข้อมูลต่าง ๆ ด้านประชากรศาสตร์ให้แก่ผู้สนใจด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ และสาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากประเทศสหรัฐอเมริกาและฝรั่ง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยานิพนธ์

วิทยานิพนธ์, ปริญญานิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ (thesis หรือ dissertation) เป็นเอกสารที่เขียนโดยนักวิจัย นักศึกษา หรือนักวิชาการ พรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัยที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ โดยเขียนอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน สำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา วิทยานิพนธ์เป็นเอกสารบังคับในการจบการศึกษา สำหรับนักวิจัยหรือนักวิชาการจะใช้เป็นเอกสารในการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยานิพนธ์

วิทิต มันตาภรณ์

ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทิต มันตาภรณ์

ศัลยศาสตร์

ัลยแพทย์ทรวงอกกำลังผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ ศัลยศาสตร์ หรือ ศัลยกรรม (surgery) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการใช้หัตถการหรือเครื่องมือในการผ่าตัดเข้าในร่างกายผู้ป่วยเพื่อสืบค้นอาการ และ/หรือรักษาความผิดปกติ เช่น โรค หรือการบาดเจ็บต่าง ๆ เพื่อช่วยในการแก้ไขการทำงานหรือรูปลักษณ์ของร่างกาย หรือด้วยเหตุผลอื่น ๆ เรียกแพทย์ที่ศึกษามาเฉพาะทางศัลยศาสตร์ว่า ศัลยแพทย์ (surgeon) ศัลยแพทย์ในประเทศไทยต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และสำเร็จการศึกษาแพทย์ประจำบ้านด้านศัลยศาสตร์แล้วได้ผ่านการสอบเพื่อวุฒิบัตรและหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ ของแพทยสภา และเป็นสมาชิกของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศัลยศาสตร์

ศาลาพระเกี้ยว

ลาพระเกี้ยว เป็นอาคารเอนกประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างในปี พ.ศ. 2508 ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยหลายอย่าง เช่น จุฬาฯวิชาการ ชั้นใต้ดินเป็นศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลักษณะภายนอกของศาลาพระเกี้ยวเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ รูปทรงคล้ายพระเกี้ยว ในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศาลาพระเกี้ยว

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศาสตราจารย์

ศิลปิน

ศิลปิน (artist) เป็นกลุ่มบุคคลที่แสดงความคิดออกมาในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะใช้สัญลักษณ์ การแสดงออกทางร่างกาย การใช้เสียง การใช้อุปกรณ์ หรือการวาด หมวดหมู่:ศิลปะ หมวดหมู่:อาชีพ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศิลปิน

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศิลปินแห่งชาติ

ศูนย์การค้า

ูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ศูนย์การค้า คืออาคารหรือกลุ่มของอาคารที่มีการขายสินค้าและบริการแบบขายปลีกอยู่ในพื้นที่พัฒนาเดียวกัน โดยต้องมีพื้นที่เช่าสุทธิ (NLA) ไม่น้อยกว่าประมาณ 1,850 ตารางเมตร (20,000 ตารางฟุต) สำหรับการพัฒนาพื้นที่แบบมิกซ์ยูส จะไม่รวมเนื้อที่ของกิจการอื่นที่ไม่ใช่พื้นที่ค้าปลีก พื้นที่ศูนย์การค้าสามารถอยู่ในร่มภายใต้อาคารเดียวกันหรืออยู่กลางแจ้งที่มีพื้นที่ติดต่อกันแบบเปิดโล่งก็ได้ ผลิตภัณฑ์ที่ขายในศูนย์การค้าไม่ได้จัดแบ่งตามแผนก ขึ้นอยู่กับตัวแทนจำหน่ายที่จะขอเช่าพื้นที่หรือล็อกที่ศูนย์การค้าได้จัดสรรไว้ให้ จึงสามารถเห็นภัตตาคารตั้งอยู่ข้างร้านหนังสือหรือร้านเครื่องดนตรีก็ได้ในศูนย์การค้า ศูนย์การค้ามีความแตกต่างจากห้างสรรพสินค้า กล่าวคือ ห้างสรรพสินค้าจะเป็นผู้ไปติดต่อผู้ผลิตหรือพ่อค้าคนกลางเพื่อนำสินค้ามาขายเอง ในขณะที่ศูนย์การค้าไม่ต้องไปหาผลิตภัณฑ์มาวางขาย แต่เปิดให้เช่าพื้นที่กับตัวแทนจำหน่ายจากธุรกิจอื่น และมีการทำสัญญาเก็บค่าเช่าตามระยะเวลาที่กำหนด ในปัจจุบันมีสถานที่ซึ่งมีลักษณะเป็นทั้งศูนย์การค้าแต่มีห้างสรรพสินค้าตั้งอยู่ภายในในเวลาเดียวกัน โดยทั่วไปมักจะนับรวมทั้งอาคารเป็นศูนย์การค้าทั้งหม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศูนย์การค้า

ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีนโยบายในการสร้างคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน รู้จักค้นคว้าหาข้อมูล และนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและบ้านเมือง โดยดำเนินกิจการในรูปวิสาหกิจที่ต้องเลี้ยงตัวเอง และดำเนินงานคล้ายระบบธุรกิจเอกชน ที่มิได้แสวงหากำไรสูงสุด แต่เพื่อให้สามารถแข่งขันกับตลาดภายนอกได้ โดยให้บริการทั้งหนังสือภาษาไทย ภาษาต่าง ประเทศกว่า ซีดี-รอม วีดิทัศน์ สื่อการเรียนการสอน วัสดุอุปกรณ์การศึกษา รวมทั้งเครื่องใช้สำนักงานด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภากาชาดไทย

สภาสถาปนิกไทย

ตราสัญลักษณ์สภาสถาปนิก ในประเทศไทย, สภาสถาปนิก (Architect Council of Thailand หรือชื่อเดิม Council Of Architects) คือองค์กรควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรมที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาปนิก..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาสถาปนิกไทย

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

สมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก

มาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก (Association of Pacific Rim Universities หรือ APRU) ก่อตั้งเมือปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

ัญลักษณ์สมาคมสถาปนิกสยาม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ อาษา (ASA) เป็นสมาคมของบุคคลในวิชาชีพสถาปนิกและผู้ที่สนใจในงานสถาปัตยกรรมของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่งในสี่สมาคมวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม เป็นสมาคมที่มีลักษณะเป็นนิติบุคคล.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

สมุนไพร

ต้นหอม สมุนไพรที่ใช้ในการปรุงอาหาร สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำรับยา เพื่อบำบัดโรค บำรุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ" หากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตำรับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมุนไพร

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สยามพารากอน

้านหน้าสยามพารากอน สยามพารากอนเวลากลางคืน ด้านข้างสยามพารากอนเวลากลางคืน ศูนย์การค้าสยามพารากอน (Siam Paragon) เป็น ศูนย์การค้า ขนาดใหญ่ในกลุ่มพลังสยาม มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศไทย รองจากศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์ และ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต บริหารงานโดย บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และ บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด ตั้งอยู่บน ถนนพระรามที่ 1 ในพื้นที่แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เน้นความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อสูง กลุ่มนักท่องเที่ยว กลุ่มลูกค้าต่างชาติ และกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงบนในศูนย์การค้าเดียว อีกทั้งยังเป็นศูนย์การค้าคู่แข่งกับ เซ็นทรัลเวิลด์ โดยตรง สยามพารากอนมีลูกค้าชาวไทยประมาณ 60% และชาวต่างชาติ 40% เป็นสถานที่ที่มีผู้แชร์ภาพผ่านอินสตาแกรมมากที่สุดในโลกในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามพารากอน

สยามสแควร์

มสแควร์ด้านนถนนพญาไท สยามสแควร์ ศูนย์การค้าแบบเชิงราบ จากภาพคือบริเวณสยามสแควร์ซอย 7 สยามสแควร์ ปี พ.ศ. 2558 สยามสแควร์ หรือเรียกกันว่า สยาม เป็นศูนย์การค้าแบบเชิงราบในกรุงเทพมหานคร เนื้อที่ 63 ไร่ ตั้งอยู่บนหัวมุมถนนพญาไท และถนนพระราม 1 โดยด้านหลังติดกับถนนอังรีดูนังต์ และด้านทิศตะวันออกติดต่อกับคณะเภสัชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกด้านหนึ่งติดกับ ห้างสรรพสินค้าเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ และอีกด้านหนึ่งติดกับ สยามดิสคัฟเวอรี สยามเซ็นเตอร์และสยามพารากอน สยามสแควร์เป็นพื้นที่ในความดูแลของสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธุรกิจในสยามสแควร์มีความหลากหลาย ทั้งโลกของแฟชั่น อาหาร พื้นที่โฆษณา โรงเรียนกวดวิชา สังคมเด็กแนว หรือในแวดวงทางการธุรกิจการตลาด เป็นสถานที่ที่มีการทดลองสินค้า และกิจกรรมการตลาดแบบแปลกใหม่และเข้มข้นที่สุดแห่งหนึ่ง มีจำนวนคนเดินในสยามสแควร์ในวันธรรมดาเฉลี่ยวันละ 20,000 คน วันหยุดไม่ต่ำกว่า 50,000 คน ซึ่งแต่ละคนมีกำลังซื้อเฉลี่ย 1,000 บาท/ครั้ง/คน สยามสแควร์ในปัจจุบันมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายนอก รูปแบบอาคารอยู่เสมอ แต่ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมถึงภูมิทัศน์ มีการเพิ่มการแพร่ภาพสื่อผ่านทางจอโทรทัศน์ทั่วสยามสแควร์ และทางสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการศึกษาผังแม่บทสยามสแควร์ขึ้นอย่างจริงจัง และโครงการหลังจากเซ็นเตอร์พอยท์ได้หมดสัญญาลงไป ก็คือโครงการ "ดิจิตอล เกตเวย์" และยังมีโครงการอาคารจอดรถ โครงการโรงแรม 3 ดาวครึ่ง ในอนาคต สยามสแควร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมสมัยนิยมของไทย โดยมีภาพยนตร์ที่มีฉากหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสยามสแควร์ เช่น รักแห่งสยาม และ สยามสแควร์ นอกจากนี้มิวสิกวิดีโอก็นิยมใช้สยามสแควร์เป็นฉากในเรื่อง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามสแควร์

สยามสแควร์วัน

ูนย์การค้าสยามสแควร์วัน (Siam Square One) เป็นศูนย์การค้าในย่านสยามสแควร์ ประเทศไทย สร้างบนพื้นที่เดิมของโรงภาพยนตร์สยาม ที่ได้รับความเสียหายจากเพลิงไหม้เมื่อครั้งการชุมนุมทางการเมือง พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามสแควร์วัน

สยามดิสคัฟเวอรี

มดิสคัฟเวอรี่เซ็นเตอร์ก่อนการปรับปรุงครั้งใหญ่ ศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี (Siam Discovery) เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในประเทศไทย บริการงานโดยสยามพิวรรธน์ เปิดตัวเมื่อเมษายน 2540 ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกปทุมวัน เป็นศูนย์การค้าภายใต้แนวคิด "Lifestyle shopping" ในแต่ละชั้นจะนำเสนอสินค้าประเภทเดียวหรือแนวคิดเดียว (One Floor One Concept) ซึ่งเป็นต้นแบบให้กับเอ็มโพเรียม และสยามพารากอน จากข้อมูลในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามดิสคัฟเวอรี

สยามเซ็นเตอร์

มเซ็นเตอร์ หรือ ศูนย์การค้าสยาม เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่แบบพิเศษเฉพาะ (Specially Shopping Center) ซึ่งไม่มีร้านแบ่งตามแผนก (Department Store) ตั้งอยู่ริมถนนพระรามที่ 1 ดำเนินงานโดย บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด เปิดบริการเมื่อปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามเซ็นเตอร์

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสวนลุมพินี

สวนสาธารณะ

วนลุมพินี สวนสาธารณะใจกลางกรุงเทพมหานคร สวนสาธารณะ หมายถึงบริเวณสาธารณะที่ภาครัฐ ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) หรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) จัดให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแก่ประชาชนตามชุมชนและเมืองต่างๆ โดยรัฐเป็นเจ้าของและเป็นผู้ดูแลรักษา ปัจจุบัน การจัดที่พักผ่อนหย่อนใจถือเป็นหน้าที่ของรัฐ แต่สวนสาธารณะในความหมายนี้ อาจจัดสร้างโดยเอกชนแล้วอุทิศให้แก่ประชาชนก็ได้.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสวนสาธารณะ

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสหประชาชาติ

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสังคมศาสตร์

สัตวแพทย์

ัตวแพทย์ สัตวแพทย์ คือ แพทย์ที่รักษาสัตว์ หรือกล่าวแบบภาษาชาวบ้านว่า "หมอรักษาสัตว์" โดยคำว่า veterinarian นิยมใช้ในอเมริกาเหนือ ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดยโทมัส บราวน์ (Thomas Browne) หรือ veterinary surgeon นิยมใช้ในยุโรป ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละติน คือ veterinae โดยมีหมายความว่า draught animals บางครั้งอาจจะใช้คำสั้น ๆ ว่า "vet" ในประเทศไทย คาดว่า คำว่า สัตวแพทย์ พล.ต.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสัตวแพทย์

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

ัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) สิ่งมีชีวิตประเภทนี้มีกระดูกสันหลังหรือไขสันหลัง สิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังเริ่มมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาประมาณ 505 ล้านปี ในยุคแคมเบรียนกลาง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของช่วงยุคแคมเบรียน โครงกระดูกของไขสันหลัง ถูกเรียกว่ากระดูกสันหลัง Vertebrate เป็นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน Chordates รวมทั้งยังมีสัตว์ที่คนรู้จักมากที่สุดอีกด้วย (ยกเว้นแมลง) ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (รวมทั้งมนุษย์) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังทั้งสิ้น ลักษณะเฉพาะของไฟลัมย่อยนี้คือระบบของกล้ามเนื้อจำนวนมาก เช่นเดียวกับระบบประสาทส่วนกลางที่ถูกวางในกระดูกสันหลังเป็นส่วน ๆ สัตว์มีกระดูกสันหลัง คือกระดูกสันหลังจะอยู่เป็นแนวยาวไปตามด้านหลังของสัตว์ กระดูกสันหลังจะต่อกันเป็นข้อๆ ยืดหยุ่น เคลื่อนไหวได้มีหน้าที่ช่วยพยุงร่างกายให้เป็นรูปร่างทรวดทรงอยู่ได้และยังช่วยป้องกันเส้นประสาทอีกด้วย สัตว์พวกมีกระดูกสันหลัง นักวิทยาศาสตร์ยังแบ่งออกเป็น 5 พวกคือ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสัตว์มีกระดูกสันหลัง

สาธารณสุข

รณสุข คือศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร คำว่าสุขภาพนั้นมีนิยามและจัดการในลักษณะต่างๆ กันจากหน่วยงานต่างๆ สำหรับองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานและเฝ้าระวังโรคทั่วโลก ได้นิยามคำว่า สุขภาพ ไว้ว่า "สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความแข็งแรงทางกายเท่านั้น" ประชากรที่กล่าวไว้ข้างต้นอาจมีเพียงน้อยนิด หรือปริมาณมหาศาลในระดับทวีปก็ได้ สาธารณสุขมีด้วยกันหลายสาขาย่อย แต่โดยทั่วไปจะแบ่งเป็นหมวดต่างๆ ได้แก่ ระบาดวิทยา (epidemiology), ชีวสถิติ (biostatistics) และบริการสุขภาพ (health services) นอกจากนี้แล้ว สุขภาพเชิงสิ่งแวดล้อม เชิงสังคม และเชิงพฤติกรรม รวมทั้งสุขภาพเชิงอาชีพ ก็เป็นสาขาที่สำคัญของสาธารณสุขด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสาธารณสุข

สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นส่วนงานประเภทคณะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำหน้าที่ในการจัดการศึกษา วิจัย และบริการวิชาการในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรการเกษตร ที่ครอบคลุมได้ในสาขาที่เกี่ยวข้อง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจหมายถึง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

สิทธิบัตร

ทธิบัตร (patent) หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบว่าด้วยสิทธิบัตร..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิทธิบัตร

สิทธิมนุษยชน

ทธิมนุษยชน (human rights) เป็นหลักทางศีลธรรมหรือจารีตJames Nickel, with assistance from Thomas Pogge, M.B.E. Smith, and Leif Wenar, December 13, 2013, Stanford Encyclopedia of Philosophy,, Retrieved August 14, 2014ซึ่งอธิบายมาตรฐานตายตัวของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายระหว่างประเทศ ปกติเข้าใจว่าเป็นสิทธิพื้นฐานที่ไม่โอนให้กันได้ "ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเพียงเพราะผู้นั้นเป็นมนุษย์" และซึ่ง "มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน"Burns H.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิทธิมนุษยชน

สุชาดา กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ คุณหญิง สุชาดา กีระนันทน์ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกสภาฯ หญิงคนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมสถิติแห่งประเทศไทย, และอดีตอธิการบดีและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหญิงคนแรก.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุชาดา กีระนันทน์

สุพจน์ หารหนองบัว

.สุพจน์ หารหนองบัว หรือ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสภาการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุพจน์ หารหนองบัว

สุขภาพ

หมายถึงระดับของประสิทธิภาพเชิงการทำงานหรือเชิงเมตาบอลิกของสิ่งมีชีวิตทั่วๆไป องค์การอนามัยโลกให้คำนิยาม "สุขภาพ" ไว้อย่างกว้างๆในธรรมนูญปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุขภาพ

สีชมพู

ีชมพู เป็นสีที่เกิดจากการผสมสีแดงและสีขาว ในบางครั้งจะถูกกล่าวถึงในลักษณะสีแดงอ่อน สีชมพูมักจะถูกใช้ในการกล่าวถึงลักษณะของเด็กหญิง ซึ่งนิยมใช้ควบคู่กับ สีน้ำเงินหรือสีฟ้า ที่จะแสดงถึงเด็กชาย ในภาษาเหนือ เรียกสีชมพูว่า "จมออน" (จม-ออน).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสีชมพู

สีดำ

ีดำ เป็นสีของวัตถุที่ไม่สะท้อนแสงที่สเปกตรัมสะท้อนออกมา วัตถุสีดำจะดูดกลืนทุกสีในสเปกตรัม จึงไม่สะท้อนสีใด ๆ ออกมาเลย หลายคนคิดว่าสีดำคือ "การผสมทุกสีเข้าด้วยกัน" แต่ความเป็นจริงแล้ว สีที่สามารถสะท้อนแสงคืนได้หมดทุกสีคือ สีขาว บางครั้งสีดำบ่งบอกถึงความว่างเปล่า และไม่มีสีสัน แต่สีดำเป็นสีสีหนึ่ง สามารถบ่งบอกคุณลักษณ์ต่างๆ ของวัตถุ เช่น แมวสีดำ หรือภาพศิลป์สีดำ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสีดำ

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสีแดง

สีเหลือง

ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสีเหลือง

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารจามจุรี 10 และศศินทร์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University) เป็นสถาบันที่เปิดทำการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (นานาชาติ) ทางด้านบริหารธุรกิจ การตลาด การจัดการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือกันระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย The Kellogg School of Management ของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น และ Wharton School ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย นอกจากนี้ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ยังเป็นสถาบันแห่งแรกในไทยที่ได้รับการรับรองจากสมาคมเพื่อพัฒนาวิทยาลัยธุรกิจ (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

ันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย (Srisavarindhira Thai Red Cross Institute of Nursing) เป็นหน่วยงานหนึ่งของสภากาชาดไทย เปิดทำการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 4 ปี และหลักสูตรประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทางอีกหล.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Language Institute) มีชื่อย่อคือ CULI เป็นสถาบันหนึ่งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มีชื่อภาษาอังกฤษว่า ชื่อย่อคือ เป็นสถาบันอิสระสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบัน เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันอิสระสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบัน เมื่อวันที่ 22 เมษายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ดำเนินงานวิจัยทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาคและประเด็นศึกษาเกี่ยวกัปทวีปเอเชีย และมีภารกิจในการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมในหลายรูปแบบ และมีบทบาทในการให้ความเข้าใจเชิงวิชาการแก่สังคมในประเด็นอันเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์หลายครั้ง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาปัตยกรรมไทย

ระตำหนักทับขวัญ ใน พระราชวังสนามจันทร์ มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบเรือนไทยภาคกลาง สถาปัตยกรรมไทย หมายถึงศิลปะการก่อสร้างของไทย อันได้แก่ อาคาร บ้านเรือน โบสถ์ วิหาร วัง สถูป และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ มีลักษณะแตกต่างกันไปตามภูมิศาสตร์ และคตินิยม สถาปัตยกรรมไทย มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน เป็นเวลาร่วม 4000 ปี บรรพบุรุษไทยได้พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมอันเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ โดยเพิ่มเติมใส่เอกลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไป ซึ่งนับเป็นการแสดงออกความสามารถของบรรพบุรุษไทย สามารถแบ่งยุคได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์ และ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาปัตยกรรมไทย

สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า "วิทยุจุฬาฯ" เป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกอากาศด้วยคลื่นความถี่ 101.5 เมกะเฮิรตซ์ ในระยะแรกสถานีวิทยุแห่งนี้ป็นสถานที่ทดลองส่งคลื่นวิทยุกระจายเสียงที่นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้น โดยทดลองทำเครื่องส่งสัญญาณขึ้นเองจนสามารถใช้งานได้จริงสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Radio) FM 101.5 MHz.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถานีศาลาแดง

นีศาลาแดง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือถนนสีลม กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านธุรกิจถนนสีลม เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีสีลม ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ซึ่งในเวลาเร่งด่วนจะเป็นสถานีที่มีผู้โดยสารใช้งานเป็นอันดับ 2 รองจากสถานีสยามเลยทีเดียว เนื่องจากมีสำนักงานมากม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีศาลาแดง

สถานีสยาม

นีสยาม เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนเส้นทางระหว่างสายสุขุมวิทและสายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านการค้า สยามสแควร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีสยาม

สถานีสามย่าน

นีสามย่าน (รหัส SAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกสามย่าน มีทำเลอยู่ใจกลางเมือง ใกล้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และย่านธุรกิจบริเวณสามย่าน สี่พระยา และสุรวง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีสามย่าน

สถานีสีลม

นีสีลม (รหัส SIL) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกศาลาแดง มีทำเลอยู่ใจกลางเมืองในย่านธุรกิจถนนสีลม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีสีลม

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ

ลักษณะภายนอกของสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้า สนามกีฬาแห่งชาต.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ

สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดิมชื่อ สนามกีฬาจารุเสถียร หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "สนามจุ๊บ" เป็นสนามกีฬาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นสนามฟุตบอลหญ้าเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันตกของถนนพญาไท บริเวณใต้อัฒจันทร์รอบสนามจัดเป็นห้องกิจกรรมหลายรูปแบบ และมีสนามเทนนิสอยู่อีกฝั่งหนึ่ง ตัวสนามจะอยู่ถัดจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนามกีฬาแห่งนี้เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในสมัยที่ยังใช้ชื่อว่า สนามกีฬาจารุเสถียร เคยใช้เป็นสถานที่จัดการแข่งขันชิงแชมป์โลกมวยสากลรุ่นแบนตั้มเวท ระหว่าง จิมมี่ คาร์รัทเธอร์ เจ้าของตำแหน่งชาวออสเตรเลีย กับ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ ผู้ท้าชิงชาวไทย เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สนามกีฬาแห่งชาติ

สนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสนามกีฬาที่ใช้รองรับในการแข่งขันใหญ่ โดยเฉพาะเป็นสนามเหย้าของประเทศนั้น สำหรับทีมชาติในการแข่งขันกีฬาแต่ละประเภท คำ ๆ นี้โดยมากมักใช้หมายถึงสนามกีฬาฟุตบอล โดยปกติแล้วสนามกีฬาแห่งชาติมักจะมีสถานที่ตั้งอยู่ใน/หรืออยู่ใกล้กับเมืองหลวง หรือเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และมักจะเป็นสนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ (แต่ก็ไม่เสมอไป) มักใช้จัดการแข่งขันกีฬาที่สำคัญ (เช่นฟุตบอลโลก หรือโอลิมปิก) มีหลายสนามที่ใช้เป็นสนามแข่งขันทีมเหย้าของสโมสรท้องถิ่นนั้น ๆ มีหลายประเทศที่ไม่มีสนามกีฬาแห่งชาติ เช่น สเปน และสหรัฐอเมริกา โดยจะหมุนเวียนใช้สนามในแต่ละส่วนของประเทศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสนามกีฬาแห่งชาติ

สโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพ ในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่อาคารจัตุรัสจามจุรี แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เดิมมีชื่อว่า "สโมสรฟุตบอลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" โดยเป็นสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยที่ยังคงดำเนินกิจการอยู่ในปัจจุบัน ในอดีตเคยประสบความสำเร็จสูงสุดด้วยการคว้าแชมป์ถ้วยพระราชทาน ก ได้ในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 — 5 กันยายน พ.ศ. 2492) ประสูติเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดากับหม่อมเอม ในปีที่ประสูตินั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉลองสิริราชสมบัติครบ 25 ปีสัจธรรม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บริเวณภายนอกอาคาร หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บริเวณภายนอกอาคารเชื่อมต่อทางเดินจากมาบุญครอง บริเวณภายในจัดแสดง ทางเดินก้นหอยรอบตัวอาคาร หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (Bangkok Art and Culture Centre) หรือ หอศิลป์กรุงเทพฯ เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะตั้งอยู่ที่สี่แยกปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

หอศิลป์

ในบริเวณหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หอศิลป์ในกรุงเทพมหานคร หอศิลป์ หรือ พิพิธภัณฑ์ศิลปะ เป็นบริเวณหรืออาคารที่ใช้ในการแสดงนิทรรศการศิลปะ หอศิลป์มีทั้งแบบที่เปิดให้เข้าชมในลักษณะสาธารณะ หรือหอศิลป์ส่วนตัวที่เปิดให้ชมเฉพาะบุคคลขึ้นอยู่กับการบริหารของเจ้าของอาคาร โดยส่วนมากหอศิลป์จะแสดงภาพเขียน โดยนอกเหนือจากนี้หอศิลป์ยังมีการแสดง ประติมากรรม เฟอร์นิเจอร์ ลายผ้า ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย อีกด้วย ในปัจจุบันหอศิลป์ยังคงถูกเริ่มนิยมใช้เป็นสถานที่จัดงานสังสรรค์ ไม่ว่าการประชุม หรือการสัมมน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหอศิลป์

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ห้องเชียร์

ห้องเชียร์คือสถานที่ที่ใช้เพื่อกิจกรรมการรับน้อง เป็นห้องที่มีลักษณะปิด อาจเป็นเป็นห้องเรียนหรือหอประชุม โดยจะมีรุ่นพี่เข้ามาทำกิจกรรมต่างๆ กับรุ่นน้อง กิจกรรมเช่น อบรมน้องใหม่ให้ทราบถึงประวัติมหาวิทยาลัย ประวัติคณะ หรือสาขา รวมทั้งลักษณะการประพฤติปฏิบัติอันดี และยังรวมถึงการสอนร้องเพลงประจำสถาบันด้วย ห้องเชียร์จึงได้ชื่อว่าเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งที่จะทำให้นักศึกษาใหม่ได้ทราบประวัติของคณะและมหาวิทยาลัย และยังเป็นโอกาสทำกิจกรรมร่วมกันกับทั้งรุ่นพี่และเพื่อนๆ ในรุ่นเดียวกันอีกด้วย ลักษณะการจัดกิจกรรมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละคณะหรือมหาวิทยาลัย โดยห้องเชียร์นี้เป็นกิจกรรมที่แสดงถึงลักษณะของระบบ SOTUS ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้องแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและห้องเชียร์

ฬ (จุฬา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 42 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ห (หีบ) และก่อนหน้า อ (อ่าง) ออกเสียงอย่าง ล (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฬ จุฬา" อักษร ฬ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /l/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ ปัจจุบัน ฬ ไม่มีที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นของคำ มีเพียงใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีเท่านั้น (ซึ่งจะปรากฏกลางคำหรือท้ายคำ เช่น กีฬา นาฬิกา กาฬ วาฬ) คำโบราณที่เคยใช้ ฬ ก็เปลี่ยนไปใช้ ล แทนเช่น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฬ

อรุณ สรเทศน์

ตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรุณ สรเทศน์

อาคารอนุรักษ์

อาคารอนุรักษ์ คืออาคารเก่าที่มีคุณค่าทางทางสถาปัตยกรรม สมควรได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ โดยหน่วยงานที่เป็นกำลังหลักในการส่งเสริมคือ คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีกิจกรรมมอบรางวัลด้านการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานการมอบรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น อย่างต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาคารอนุรักษ์

อำเภอแก่งคอย

แก่งคอย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสระบุรี เดิมมีชื่อว่า "แร้งคอย" เนื่องจากเป็นปากทางเข้าสู่เขาใหญ่ มีผู้คนจำนวนมากล้มตายจากไข้ป่าจนมีนกแร้งมาเฝ้าคอยเพื่อกินศพเป็นจำนวนมาก เป็นอำเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่อยู่เป็นจำนวนมาก เช่น โรงงานปูนซีเมนต์ โรงไฟฟ้า โรงงานเซรามิก เคมีภัณฑ์ เป็นต้น และยังเป็นชุมทางรถไฟที่สำคัญ ประกอบกับมีถนนมิตรภาพตัดผ่าน ทำให้มีโรงงานจำนวนมากและมีประชากรแฝงเข้ามาทำงานจำนวนมาก.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอำเภอแก่งคอย

อำเภอแม่ริม

แม่ริม (40px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีความพร้อมทุก ๆ ด้าน จนเป็นอำเภอขนาดใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นอำเภอที่ตั้งของศูนย์ราชการที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ มีการขยายตัวของชุมชนเมืองที่รองรับความเจริญเติบโตของนครเชียงใหม่ ปัจจุบันมีการขยายตัวของการท่องเที่ยว ทั้งโรงแรมและรีสอร์ตที่ถือว่ามากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งอำเภอแม่ริมเป็นอำเภอที่รองรับความเจริญของนครเชียงใหม่เพื่อขยายไปยังศูนย์กลางความเจริญทางตอนเหนือของจังหวัดเชียงใหม่ และเป็นทางผ่านเพื่อไปยังอำเภอปาย ทำให้อำเภอแม่ริมมีสภาพเศรษฐกิจดี มีการคมนาคมที่คับคั่ง รองจากอำเภอหางดง และเป็นเมืองท่องเที่ยวที่ใกล้เมืองเชียงใหม่มากที.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอำเภอแม่ริม

อำเภอเกาะสีชัง

อำเภอเกาะสีชัง ตั้งอยู่ในอ่าวไทย นอกชายฝั่งอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นอำเภอที่เล็กที่สุดในประเทศไทย แต่เดิมขึ้นอยู่กับจังหวัดสมุทรปราการ มีหลวงศรีชลังคณารักษ์ เป็นผู้รักษาราชการ ต่อมาถูกย้ายไปขึ้นกับจังหวัดชลบุรีในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอำเภอเกาะสีชัง

อินเทอร์เน็ต

วิถีการจัดเส้นทางผ่านส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอินเทอร์เน็ต

อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสวนสาธารณะเนื้อที่ 28 ไร่ ตั้งอยู่บริเวณซอยจุฬาลงกรณ์ 5 ระหว่างซอยจุฬาลงกรณ์ 9 กับถนนบรรทัดทอง ในพื้นที่สวนหลวง-สามย่าน เชื่อมต่อกับแนวแกนกลางของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบ่งพื้นที่ใช้สอยเป็น ลานกิจกรรมกลางแจ้ง ศูนย์การเรียนรู้ โดยอาคารต่าง ๆ จะปลูกต้นไม้เพื่อเป็นอาคารสีเขียว มีประโยชน์ในการชะลอน้ำ ออกแบบตามแนวคิด "ป่าในเมือง" ออกแบบให้เป็นพื้นที่หน่วงน้ำของเมือง มีแนวพื้นที่รับน้ำ (rain garden) และระบบระบายน้ำใต้ดิน มีพื้นที่อเนกประสงค์ และที่จอดรถ 200 คัน อุทยานเปิดในวันที่ 26 มีนาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอุดมศึกษา

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอธิการบดี

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การอนามัยโลก

องค์การนักศึกษา

องค์การนักศึกษา, รัฐบาลนักศึกษา, สภานักศึกษา หรือ สมาคมนักศึกษา เป็นองค์กรสำหรับนักเรียนนักศึกษาที่ปรากฏในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหลายแห่ง และเริ่มแพร่หลายไปยังโรงเรียนในระดับไฮสคูล ในการศึกษาต่อ องค์การนักศึกษาอุทิศให้กับกิจกรรมทางสังคมและองค์กรของภาคส่วนนักศึกษา องค์การนักศึกษาหลายแห่งดำเนินการโดยนักเรียนนักศึกษา และเป็นอิสระจากคณะการศึกษา จุดประสงค์ขององค์กรคือการเป็นตัวแทนของนักเรียนทั้งในสถาบันและภายนอก รวมทั้งบนประเด็นระดับท้องถิ่นและระดับชาติ พวกเขายังรับผิดชอบต่อการบริการแก่นักเรียน นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการบริหารองค์การดังกล่าวผ่านทางคณะกรรมการจำนวนมากและหลากหลาย สภาและการประชุมทั่วไป หรือมีส่วนร่วมในการเลือกเจ้าหน้าที่ขององค์กร องค์การนักศึกษาหลายแห่งมีการดำเนินการคล้ายกับการเมืองเป็นอย่างมาก และมักถูกใช้เป็นสถานที่ฝึกสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนักการเมืองในอนาคต การรณรงค์และการโต้วาทีจะถูกจัดขึ้นบ่อยครั้ง โดยมีการถือพวกกันอย่างมาก สื่อนักเรียนซึ่งมักจะมีการถือพวก ขาดประสบการณ์ และอยู่ภายใต้แรงกดดันจากการขาดแคลนเงินทุนที่จะบิดเบือนเนื้อหาเพื่อตอบสนองผู้อ่านอย่างกว้างขวาง และยังขาดความสำคัญโดยรวมสำหรับการตัดสินใจซึ่งกระตุ้นการเอาชนะอีกฝ่ายทางการเมืองโดยไม่ผิดกติกา ในขณะที่องค์การนักศึกษาจำนวนหนึ่งไม่มีลักษณะการเมือง โดยองค์การนักศึกษามักจะมีเป้าหมายที่คล้ายคลึงกันที่จะจำกัดความเป็นการเมือง และมุ่งไปยังการอำนวยความสะดวก สนับสนุนและให้บริการแก่นักเรียนเช่นเดียวกับเป้าหมายทางการเมือง องค์การนักศึกษามักให้การรับรองและลงบัญชีรายการงบประมาณประจำปีอย่างเป็นทางการ สำหรับองค์การอื่นภายในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย ในสถาบันบางแห่ง นักเรียนหรือนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาไปแล้วจะอยู่ภายในองค์การนักศึกษาในส่วนของผู้แทนผู้สำเร็จการศึกษา แต่ในบางกรณี พวกเขาก็ขาดผู้แทนอย่างเป็นทางการในรัฐบาลนักศึกษ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การนักศึกษา

อนุสรณ์สถาน

อนุสรณ์สถาน อนุสรณ์สถานหรืออนุสาวรีย์ คือสถานที่ หรืออาคาร ซึ่งก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ ระลึกถึงเหตุการณ์ หรือคุณความดีของบุคคล ในอดีต อนุสรณ์สถาน มักจะก่อสร้าง เป็น อาคารซึ่งมักใช้เป็นอาคารอเนกประสงค์ เช่นอาจมี พิพิธภัณฑ์ ห้องประชุม ลานอเนกประสงค์ ห้องจัดนิทรรศการ ส่วนประกอบพิธี หรือบริเวณบรรจุอัฐิ เป็นต้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอนุสรณ์สถาน

ผาสุก พงษ์ไพจิตร

ตราจารย์ ผาสุก พงษ์ไพจิตร เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผาสุก พงษ์ไพจิตร

ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยตำแหน่งผู้ว่าการยังดำรงตำแหน่งอื่นเป็น รองประธานคณะกรรมการธปท., ประธานคณะกรรมการนโยบายการเงิน, ประธานคณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน และ ประธานคณะกรรมการระบบการชำระเงิน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ติดต่อกันได้ไม่เกินสองวาระ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจะเป็นผู้สรรหาและเสนอชื่อไปยังคณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติรับรองจึงจะทูลเกล้าฯไปยังสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งต่อไป.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

จรัส สุวรรณเวลา

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจรัส สุวรรณเวลา

จักรยาน

accessdate.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจักรยาน

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจังหวัดชลบุรี

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจังหวัดสระบุรี

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจังหวัดนครปฐม

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจังหวัดน่าน

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจังหวัดเชียงใหม่

จัตุรัสจามจุรี

มจุรีสแควร์ หรือ จัตุรัสจามจุรี (Chamchuri Square) เป็นศูนย์การค้า อาคารสำนักงานและอาคารพักอาศัย ใจกลางเขตธุรกิจการค้าของกรุงเทพมหานคร คือแยกสามย่าน ถนนสีลมและถนนสุรวงศ์ มีพื้นที่เชื่อมต่อกับส่วนการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริหารจัดการโดยสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จามจุรีสแควร์ตั้งอยู่บริเวณหัวมุมแยกสามย่านฝั่งคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นอาคาร 3 หลัง แบ่งเป็นส่วนอาคารสำนักงาน 40 ชั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุด ส่วนศูนย์การค้าและศูนย์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ตั้งอยู่ตรงกลาง ส่วนอาคารพักอาศัย 23 ชั้น ตั้งอยู่ด้านตะวันตกสุด มีพื้นที่รวม 274,459 ตารางเมตร ชั้นใต้ดินของอาคารสามารถเชื่อมต่อกับสถานีรถฟ้าใต้ดิน (MRT) สถานีสามย่าน ซึ่งนับเป็นการเชื่อมต่อกับอาคารแห่งแรกของไทย นอกจากนี้ อาคารดังกล่าวยังเป็นที่ทำการหลักของ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ ดีแทค อีกด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจัตุรัสจามจุรี

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาฯวิชาการ

ัญลักษณ์งานจุฬาฯ Expo 2017 จุฬาฯวิชาการ (CU Academic Expo) เป็นงานนิทรรศการที่จัดขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และนวัตกรรมของคณาจารย์และนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านนิทรรศการและกิจกรรมต่าง ๆ โดยงานจุฬาฯวิชาการ กำหนดให้จัดขึ้นเป็นประจำทุก ๆ 3 ปี เวทีกลางงานจุฬาวิชาการ 2555 ทั้งนี้ งานจุฬาฯวิชาการครั้งที่ 14 กำหนดจัดในเดือนพฤศจิกายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาฯวิชาการ

ธัชชัย สุมิตร

รองศาสตราจารย์ ธัชชัย สุมิตร อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธัชชัย สุมิตร

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารไทยพาณิชย์

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนอม กิตติขจร

ถนนบรรทัดทอง

นาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี ที่บริเวณแยกเพชรพระราม อันเป็นจุดสิ้นสุดของถนน (ภาพจากมุมมองของถนนบรรทัดทอง) ถนนบรรทัดทอง (Thanon Banthat Thong) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ 2 เขตคือ เขตปทุมวันและเขตราชเทวี.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนบรรทัดทอง

ถนนพญาไท

นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนพญาไท

ถนนพระรามที่ 1

นนพระรามที่ 1 ช่วงสยามสแควร์ ถนนพระรามที่ 1 (Thanon Rama I) เริ่มต้นจากถนนกรุงเกษม (สี่แยกกษัตริย์ศึก) ซึ่งต่อเนื่องมาจากถนนบำรุงเมือง บริเวณสะพานกษัตริย์ศึก (ข้ามคลองผดุงกรุงเกษม และทางรถไฟสายเหนือ) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนรองเมือง (ทางแยกกลางสะพานกษัตริย์ศึก) ถนนพระรามที่ 6 และทางพิเศษศรีรัช (สี่แยกพงษ์พระราม) ข้ามคลองสวนหลวงและตัดกับถนนบรรทัดทอง (สี่แยกเจริญผล) ถนนพญาไท (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองอรชร (สะพานเฉลิมเผ่า 52) และตัดกับถนนอังรีดูนังต์ (สามแยกเฉลิมเผ่า) ไปสิ้นสุดที่แยกตัดถนนราชดำริ (สี่แยกราชประสงค์ ต่อเนื่องไปยังถนนเพลินจิต) อยู่ในพื้นที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนพระรามที่ 1

ถนนพระรามที่ 4

นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนพระรามที่ 4

ถนนสาทร

นนสาทร ถนนสาทร (Thanon Sathon) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตสาทรและเขตบางรัก.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนสาทร

ถนนอังรีดูนังต์

นนอังรีดูนังต์ มองไปทางทิศใต้ จากมุมมองสะพานลอยหลังสยามสแควร์ ถนนอังรีดูนังต์ มองไปทางทิศเหนือ จากมุมมองสะพานลอยด้านหลังคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนอังรีดูนังต์ (Thanon Henri Dunant) เป็นถนนในท้องที่แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนพระรามที่ 1 (สามแยกเฉลิมเผ่า) ถึงถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกอังรีดูนังต์) เดิมเรียกถนนสายนี้ว่า "ถนนสนามม้า" เนื่องจากผ่านสนามม้าปทุมวัน (ปัจจุบันคือราชกรีฑาสโมสร) ตัดผ่านสถานที่สำคัญ คือ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน สยามสแควร์ โรงพยาบาลตำรวจ และ สำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนอังรีดูนังต์

ถนนนราธิวาสราชนครินทร์

นนนราธิวาสราชนครินทร์ บริเวณสถานีรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (Thanon Naradhiwas Rajanagarindra) เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่เขตบางรัก เขตสาทร และเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ลักษณะเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 8 ช่องจราจร ความกว้าง 60 เมตร ระยะทาง 5.115 กิโลเมตร เริ่มจากถนนสุรวงศ์ในพื้นที่แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกับเลียบคลองช่องนนทรี ตัดกับถนนสีลมเข้าพื้นที่แขวงสีลม ตัดกับถนนสาทรเข้าพื้นที่เขตสาทร โดยฝั่งซอยเลขคี่เป็นท้องที่ของแขวงทุ่งมหาเมฆ ส่วนฝั่งซอยเลขคู่เป็นท้องที่แขวงยานนาวา จนถึงปากซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 8 (อาคารสงเคราะห์ 6) จึงเข้าท้องที่แขวงทุ่งวัดดอน ตัดกับถนนจันทน์ เฉพาะฝั่งซอยเลขคู่เข้าสู่ท้องที่แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา ส่วนฝั่งซอยเลขคี่ยังอยู่ในท้องที่แขวงทุ่งมหาเมฆจนกระทั่งตัดกับถนนจันทน์เก่า จากนั้นตัดกับถนนรัชดาภิเษก และไปบรรจบกับถนนพระรามที่ 3 ที่แยกพระรามที่ 3-นราธิวาส (ช่องนนทรี) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ตัดขึ้นตามโครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำและถนนเลียบคลองช่องนนทรี ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานครฉบับที่ 4 (พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนนราธิวาสราชนครินทร์

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทวารวดี

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทวีปยุโรป

ทัศนศิลป์

ทัศนศิลป.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทัศนศิลป์

ทัณฑฆาต

ทัณฑฆาต (-์) บ้างเรียก หางกระแต หรือ วัญฌการ มีสัณฐานเหมือนหางกระรอก ใช้เติมเหนือพยัญชนะ พร้อมด้วยสระบนและสระล่าง ที่ไม่ต้องการให้ออกเสียง แต่ต้องการคงรูปแบบตัวอักษรไว้ หรือไม่สามารถออกเสียงได้ในภาษาไทย ตัวอักษรที่เติมไม้ทัณฑฆาตเรียกว่าการันต์ แปลว่า "อักษรตัวสุดท้าย" ส่วนใหญ่คำที่ปรากฏทัณฑฆาตจะเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศหรือคำทับศัพท์ บางคนเขียนทัณฑฆาตคล้ายเลขไทย (๙) สำหรับสะกดคำสำหรับภาษาบาลี-สันสกฤต ก็ใช้ทัณฑฆาตในการสะกดคำ เช่นคำว่า สิน์ธู (อ่านว่า สิน-ทู) เพื่อให้ทราบว่า น เป็นตัวสะกด แต่การสะกดคำบาลี-สันสกฤตส่วนใหญ่จะใช้พินทุ (-ฺ) แทน คำที่ปรากฏทัณฑฆาตแต่ยังคงออกเสียงพยัญชนะอยู่โดยมากเป็นคำเก่า เช่น สิริกิติ์ (อ่านว่า สิ-หฺริ-กิด), โลกนิติ์ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) และ สุรเกียรติ์ (อ่านว่า สุ-ระ-เกียด).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทัณฑฆาต

ณ (เณร) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 19 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฒ (ผู้เฒ่า) และก่อนหน้า ด (เด็ก) ออกเสียงอย่าง น (หนู) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ณ เณร” อักษร ณ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /n/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ณ อยู่น้อยคำ ได้แก่ ณ (ที่), ณรงค์ (ตัดมาจาก รณรงค์), เณร, เณรหน้าไฟ, เณรหางนาค นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต หมวดหมู่:อักษรไทย.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณ

ดิจิทัล

ทัล (digital), เฉพาะชื่อเฉพาะอาจสะกดเป็น ดิจิทอล หรือ ดิจิตอล) หรือในศัพท์บัญญัติว่า เชิงเลข ในทฤษฎีข้อมูลหรือระบบข้อมูล เป็นวิธีแทนความหมายของข้อมูลหรือชิ้นงานต่างๆในรูปแบบของตัวเลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ที่ไม่ต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างจากระบบแอนะล็อกที่ใช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณแอนะล็อกซึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของข้อมูลโดยการใช้ฟังชั่นที่ต่อเนื่อง ถึงแม้ว่า การแทนความหมายเป็นดิจิทัลจะไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลที่ถูกแปลความหมายนั้นสามารถเป็นได้ทั้งไม่ต่อเนื่อง (เช่นตัวเลขหรือตัวหนังสือ) หรือต่อเนื่อง (เช่นเสียง,ภาพและการวัดอื่นๆ) คำว่าดิจิทัลที่มาจากแหล่งเดียวกันกับคำว่า digit และ digitus (ภาษาละตินแปลว่านิ้ว) เพราะนิ้วมือมักจะใช้สำหรับการนับที่ไม่ต่อเนื่อง นักคณิตศาสตร์ จอร์จ CStibitz ของห้องปฏิบัติการโทรศัพท์เบลล์ ใช้คำว่าดิจิทัลในการอ้างอิงถึงพัลส์ไฟฟ้าเร็วที่ปล่อยออกมาจากอุปกรณ์ที่ออกแบบเพื่อเล็งและยิงปืนต่อต้านอากาศยานในปี 1942 มันเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในการระบบคำนวณและระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลในโลกแห่งความเป็นจริงจะถูกแปลงเป็นรูปแบบตัวเลขฐานสองเช่นในเสียงออดิโอดิจิทัลและการถ่ายภาพดิจิทัล.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดิจิทัล

ครุย

รุย เป็นเสื้อคลุมประเภทหนึ่ง มีลักษณะหลวม ยาวถึงเข่าหรือทั้งตัว ใช้สวมหรือคลุมทับด้านนอก ทั้งชายและหญิงในยุโรปใส่ครุยกันมาตั้งแต่ยุคกลางตอนต้นจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ปัจจุบันครุยยังคงใช้สวมใส่เพื่อแสดงตำแหน่งฐานะในอาชีพที่มีรากฐานย้อนไปได้ถึงยุคกลาง เช่น ผู้พิพากษา ในวงวิชาการ ครุยยังใช้เพื่อแสดงวิทยฐานะอีกด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและครุย

ครุยและเข็มวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รุยวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเสื้อครุยที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้จัดสร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติยศสำหรับผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ต่อมา คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) เมื่อสามารถจัดการเรียนการสอนถึงขั้นปริญญาได้ แต่ในขณะนั้นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนจัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนีบัตรเท่านั้นจึงไม่มีการจัดสร้างครุยขึ้น แต่ในเบื้องต้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเข็มที่ทำด้วยเงินล้วนเป็นรูปพระเกี้ยว เรียกว่า เข็มบัณฑิต (เข็มวิทยฐานะ ในปัจจุบัน) เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายเพื่อแสดงว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนข้าราชการพลเรือนตั้งแต..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและครุยและเข็มวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอกโครัลลีไซมอนส์

อกโครัลลีไซมอนส์ (Quacquarelli Symonds) (QS) เป็นบริษัทเอกชนทำธุรกิจในด้านการศึกษาก่อตั้งใน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคอกโครัลลีไซมอนส์

คณบดี

ณบดี หมายถึง หัวหน้าคณะวิชาในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบันอื่นที่มีสถานะเทียบเท่ากัน มีความหมายตามตัวอักษรว่าผู้เป็นใหญ่ในคณะ โดยปรกติแล้ว กฎหมายไทยจะบัญญัติให้มีคณบดีคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของคณะวิชาในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบันอื่นที่มีสถานะเทียบเท่ากัน โดยจะให้มีรองคณบดีเป็นผู้ช่วยปฏิบัติการด้วยก็ได้ อนึ่ง คณบดีย่อมเป็นผู้แทนในกิจการทั่วไปของคณะ และรองคณบดีมีอำนาจหน้าที่ตามที่คณบดีมอบหมาย คุณสมบัติทั่วไปของคณบดี ได้แก่ (1) ต้องได้รับปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง และ (2) ได้ทำการสอนมาแล้วรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามปีในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง ส่วนของรองคณบดีนั้น ได้แก่ (1) ต้องได้ทำการสอนมาแล้วรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามปีในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง หรือ (2) เป็นข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี คณบดี โดยปรกติมาจากการเลือกตั้งโดยคณาจารย์ในคณะนั้น ๆ จากผู้สมัครเข้ารับคัดเลือกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สภามหาวิทยาลัยนั้นกำหนด เมื่อผ่านการเลือกตั้งแล้วจะได้รับการแต่งตั้งจากสภามหาวิทยาลัย ส่วนการถอดถอนคณบดีเป็นอำนาจของสภามหาวิทยาลัย การแต่งตั้งและถอนถอนรองคณบดีนั้นเป็นอำนาจของอธิการบดีซึ่งกระทำตามคำแนะนำของคณบดี กฎหมายมักกำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งอธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี หัวหน้าแผนกอิสระ ผู้อำนวยการสถาบัน ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการศูนย์ หัวหน้าภาควิชา และหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหรือภาควิชา ต้องสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เต็มเวลา และจะดำรงตำแหน่งดังกล่าวเกินหนึ่งตำแหน่งในขณะเดียวกันไม่ได้ แต่สามารถรักษาการแทนกันโดยไม่เกินเวลาตามที่กำหนดไว้เป็นการเฉพาะ อนึ่ง คณบดียังเป็นชื่อหนึ่งของพระพิฆเนศอีกด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณบดี

คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2531 เป็นคณะที่ 16 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันทำการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาเท่านั้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

ณะรัฐศาสตร์ เปิดสอนศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริการรัฐ การเมืองการปกครอง รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งการศึกษาวิชารัฐศาสตร์นั้น เป็นการศึกษาในลักษณะของสหวิทยาการ กล่าวคือ ต้องอาศัยศาสตร์หลาย ๆ ศาสตร์เข้ามาประกอบการศึกษา อธิบายภาวะต่าง ๆ ทางสังคม ที่เกิดขึ้นได้.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

คณะลูกเสือแห่งชาติ

ณะลูกเสือแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี(National Scout Organization of Thailand; NSOT) เป็นองค์การที่ดูแลเกี่ยวกับการลูกเสือในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะลูกเสือแห่งชาติ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดิมชื่อว่า สำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนามาจากภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศที่ให้ความสำคัญด้านการพลศึกษาและสุขศึกษา มีการผลิตบุคลากรสาขาวิชาพลศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตเมื่อปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารศิลปกรรม 1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือว่าเป็นคณะที่เก่าแก่ที่สุดของมหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจาก โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร และ คณะวิชาการศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีประวัติความสืบเนื่องจากการเปิดสอนหลักสูตรเทคนิคการแพทย์ของโรงเรียนเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปัจจุบัน คือ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล) ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เมื่อปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะองคมนตรีไทย

คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดตั้งขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งคณะจิตวิทยา ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2539 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 11 กรกฎาคม 2539 นับเป็นคณะที่ 18 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นคณะจิตวิทยาแห่งแรกของประเทศไทย ปี 2559 คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะจิตวิทยา อันดับ 1 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ QS World University Rankings by Subject 20162.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจาก "โรงเรียนฝึกหัดครู" ต่อมาได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน และเป็นแผนกวิชาหนึ่งในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ พร้อมกับการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นคณะครุศาสตร์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะนักบวชคาทอลิก

ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก คณะนักบวช หรือ สถาบันนักบวช (religious institute) เป็นสถาบันชีวิตที่ถวายแล้วประเภทหนึ่ง สมาชิกประกอบด้วยชาวคาทอลิกที่สละชีวิตทางโลกมาถือคำปฏิญาณของนักบวชตลอดชีวิต เพื่ออุทิศตนทำงานรับใช้พระศาสนจักรเพียงอย่างเดียว และอยู่รวมกันเป็นคณะ (order/society/congregation) โดยแต่ละคณะมีแนวทางการทำงานและเน้นวัตรปฏิบัติแตกต่างกันไป นอกจากเรียกว่า "คณะนักบวช" แล้ว ราชบัณฑิตยสถานยังใช้คำว่า คณะนักพรต และ คณะนักบวชถือพรต โดยถือว่ามีความหมายเดียวกันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 163, 421-2 ส่วนประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ค.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะนักบวชคาทอลิก

คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นส่วนงานประเภทคณะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 164 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2515 มีรากฐานมาจากโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ที่โอนมาเป็นคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

right คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเป็นคณะลำดับที่ 12 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ หรือ งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์–จุฬาฯ เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศไทย เริ่มจัดกิจกรรมครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ (CU–TU Traditional Rugby–Football Match) เป็นการแข่งขันรักบี้ฟุตบอลระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยและศิษย์เก่า ซึ่งการแข่งขันได้เริ่มมาตั้งแต่ปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและงานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสนพุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพกลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" นั้น อาจหมายถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยา ต้นโพธิ์ที่สืบมาจากหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตามวัดต่าง ๆ ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา, ต้นพระชัยศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระ, และต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหาร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยา ได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วง มีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลา ซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้ง และต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดีย แม้ในประเทศไทย จะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับต้นพระศรีมหาโพธิ์เท่ากับชาวพุทธในศรีลังกา แต่ปรากฏตามความเชื่อในประเทศไทยว่า ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พุทธคยา เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำปีเกิดสำหรับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง สำหรับชาวล้านนายังมีความเชื่ออีกว่า ต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ และเครื่องประกอบพิธีกรรม ใต้ต้นโพธิ์ โดยผูกคติกับความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งไม่ใช่ความหมายเดิมของการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ตามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้น เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ (ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดี), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร (ปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นต้น แม้การทำลายต้นโพธิ์ตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจะระบุว่าเป็นการทำบาปและหลบหลู่พระรัตนตรัย แต่ในมหาสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวว่าเฉพาะต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่านั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกาเจดีย์ คือไม่มีผู้เคารพบูชาในฐานะตัวแทนของพระพุทธเจ้า (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและต้นพระศรีมหาโพธิ์

ซากดึกดำบรรพ์

ซากดึกดำบรรพ์ หรือ บรรพชีวิน หรือ ฟอสซิล (fossil) คำว่า ฟอสซิล มีความหมายเดิมว่า เป็นของแปลกที่ขุดขึ้นมาได้จากพื้นดิน แต่ในปัจจุบันถูกนำมาใช้ในความหมายของซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตดึกดำบรรพ์ที่ถูกแปรสภาพด้วยกระบวนการเกิดซากดึกดำบรรพ์และถูกเก็บรักษาไว้ในชั้นหิน โดยอาจประกอบไปด้วยซากเหลือของสัตว์ พืช หรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิตอื่นใดๆที่ได้รับการจัดแบ่งจำแนกไว้ทางชีววิทยา และรวมถึงร่องรอยต่างๆของสิ่งมีชีวิตนั้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและซากดึกดำบรรพ์

ปฏิทินสุริยคติไทย

ปฏิทินสุริยคติไทย คือปฏิทินอย่างเป็นทางการของประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นระบบปฏิทินสุริยคติอ้างวันเดือนปีตรงตามปฏิทินเกรกอเรียนที่มีจำนวนวัน 365 หรือ 366 วันในแต่ละปี โดยปรับเปลี่ยนจากปฏิทินจันทรคติไทยเดิมเมื่อ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปฏิทินสุริยคติไทย

ปรสิต

ปรสิต (parasite) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่อาศัยผู้อื่นหรือเซลล์ชนิดอื่นเป็นที่พักอาศัยและแหล่งอาหาร และบางครั้งทำร้ายสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์นั้นหรือเซลล์ภายในจนเจ็บป่วยหรือถึงกับเสียชีวิต เช่น การอาศัยอยู่สิ่งมีชีวิตชั้นต่ำในร่างกายมนุษย์ ตัวอย่าง พยาธิ เป็นต้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปรสิต

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประภาส จารุเสถียร

ประมวล วีรุตมเสน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ประมวล วีรุตมเสน ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ประมวล วีรุตมเสน เป็นนายแพทย์ชาวไทย จากภาคสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สร้างผลงานเด็กหลอดแก้วรายแรกของประเทศไทย ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประมวล วีรุตมเสน

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประยุทธ์ จันทร์โอชา

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประวัติศาสตร์

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประเพณี

ประเพณี (Tradition) เป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์และมีความสำคัญต่อสังคม เช่น การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ อันเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมเชื้อชาติต่างๆ กลายเป็นประเพณีประจำชาติและถ่ายทอดกันมาโดยลำดับ หากประเพณีนั้นดีอยู่แล้วก็รักษาไว้เป็นวัฒนธรรมประจำชาติ หากไม่ดีก็แก้ไขเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเพณี

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศลาว

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศอังกฤษ

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศอินโดนีเซีย

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศจีน

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศไทย

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศเวียดนาม

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศเนเธอร์แลนด์

น (หนู) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 25 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ธ (ธง) และก่อนหน้า บ (ใบไม้) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “น หนู” อักษร น เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /n/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ หมวดหมู่:อักษรไทย.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและน

นวัตกรรม

รูปปั้น เดอะ สปิริต ออฟ อินโนเวชัน เป็นรูปปั้นเชิงสัญลักษณ์ สร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของนวัตกรรม ตั้งอยู่ที่ ดิ อเมริกัน แอดเวนเจอร์ นวัตกรรม หมายถึงการทำสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ และยังอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การผลิต กระบวนการ หรือองค์กร ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจากการปฏิวัติ การเปลี่ยนอย่างถอนรากถอนโคน หรือการพัฒนาต่อยอด ทั้งนี้ มักมีการแยกแยะความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างการประดิษฐ์คิดค้น ความคิดริเริ่ม และนวัตกรรม อันหมายถึงความคิดริเริ่มที่นำมาประยุกต์ใช้อย่างสัมฤทธิ์ผล (Mckeown, 2008) และในหลายสาขา เชื่อกันว่าการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้น จะต้องมีความแปลกใหม่อย่างเห็นได้ชัด และไม่เป็นแค่เพียงการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เป็นต้นว่า ในด้านศิลปะ เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐ ในเชิงเศรษฐศาสตร์นั้น การเปลี่ยนแปลงนั้นจะต้องเพิ่มมูลค่า มูลค่าของลูกค้า หรือมูลค่าของผู้ผลิต เป้าหมายของนวัตกรรมคือการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก เพื่อทำให้สิ่งต่างๆเกิดเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น นวัตกรรมก่อให้ได้ผลิตผลเพิ่มขึ้น และเป็นที่มาสำคัญของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ นวัตกรรมเป็นหัวข้อหลักในการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และวิศวกรรม และหากพูดกันแบบภาษาชาวบ้านแล้ว คำว่า 'นวัตกรรม' มักจะหมายถึงผลลัพธ์ของกระบวนการ และในฐานะที่นวัตกรรมมักจะได้รับการยกย่องว่าเป็นกลไกสำคัญในการผลักดันเศรษฐกิจ ปัจจัยที่นำไปสู่นวัตกรรม มักได้รับความสำคัญจากผู้ออกนโยบายว่าเป็นเรื่องวิกฤติ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในสาขาใดสาขาหนึ่ง มักจะเรียกว่าเป็นผู้บุกเบิกในสาขานั้น ไม่ว่าจะเป็นในนามบุคคล หรือองค์กร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนวัตกรรม

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิทยาศาสตร์

นีล ดะแกรส ไทซัน นักวิทยาศาสตร์ คือบุคคลผู้มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์อย่างน้อยหนึ่งสาขา และใช้หลักวิธีทางวิทยาศาสตร์ในการค้นคว้าวิจัย คำนี้บัญญัติขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักวิทยาศาสตร์

นักดนตรี

Guy Pratt นักดนตรีมืออาชีพ กำลังเล่นกีตาร์เบส นักดนตรี หมายถึง บุคคลที่เล่นเครื่องดนตรี หรือผู้ที่มีความสามารถทางด้านดนตรี ไม่ว่าจะเป็นนักประพันธ์ วาทยากร หรือนักแสดงดนตรี ก็สามารถเรียกว่านักดนตรีได้ นักดนตรีมีความสามารถเฉพาะบางแนวเพลง หรือบางคนอาจเล่นในแนวเพลงที่แตกต่างกันออกไป ตัวอย่างทักษะต่าง ๆ ของนักดนตรี ได้แก่ การแสดง การอำนวยเพลง การร้องเพลง องค์ประกอบ การจัดการ และการเรียบเรียงเพลง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักดนตรี

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักแสดง

นักเรียน

นักเรียนขณะเข้าร่วมประชุมภายในหอประชุม นักเรียน ผู้เรียน นิสิต หรือ นักศึกษา ในความหมายโดยรวมคือผู้ที่เข้าเรียนในสถานศึกษา โดยแบ่งเป็น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักเรียน

นันทนาการ

กิจกรรมปีนหน้าผา นันทนาการ (recreation) คือ กิจกรรมที่สมัครใจทำในยามว่าง เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน ผ่อนคลายความตึงเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ นันทนาการ การเล่น และความสนุกสนาน ไม่สงวนไว้แต่มนุษย์ แต่พบได้ในสัตว์เกือบทุกชนิด การเล่นช่วยพัฒนาทักษะต่าง ๆ โดยเฉพาะทักษะการเคลื่อนไหวในสิ่งมีชีวิตวัยเยาว์ สำหรับมนุษย์ กิจกรรมนันทนาการมักเกิดขึ้นในช่วงสุดสัปดาห์ และวันหยุด ประกอบด้วย ดนตรี การเต้นรำ กีฬา งานอดิเรก เกม และการท่องเที่ยว การดูโทรทัศน์ และฟังเพลง เป็นรูปแบบสามัญของนันทนาการ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนันทนาการ

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกรัฐมนตรีไทย

นิทรรศการ

นิทรรศการ (Exhibition) คือ การจัดกิจกรรมทางการตลาด เพื่อนำเสนอข้อมูล ภาพ เสียง โดยมีกำหนดการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ และหน่วยงานที่รับผิดชอบที่แน่นอน หมวดหมู่:การสื่อสาร หมวดหมู่:งานจัดแสดง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิทรรศการ

แพทยศาสตรศึกษา

แพทยศาสตรศึกษา (อังกฤษ: Medical Education) แขนงวิทยาการที่ว่าด้วยการศึกษาวิชาทางด้านแพทยศาสตร์ มีทั้งการศึกษาก่อนปริญญา (undergraduate medical eduation) และการศึกษาหลังปริญญา (postgraduate medical education) แพทยศาสตรศึกษาจะเน้นที่การจัดกระบวนการเรียนรู้ทางด้านแพทยศาสตร์เพื่อผลิตบัณฑิตแพทย์ แพทย์เฉพาะทาง หรือแพทย์นักวิจัยเพื่อรับใช้สังคม กระบวนการนี้เริ่มตั้งแต่การคัดเลือกนิสิตนักศึกษาเข้ามาศึกษาในสถาบันผลิตแพทย์ การจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดหาและส่งเสริมกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมนอกหลักสูตร การสอบและประเมินผลเพื่อรับปริญญาบัตร (โดยสถาบันผลิตแพทย์ สถาบันร่วม หรือสถาบันสมทบ) การสอบและประเมินผลเพื่อรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม (โดยศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือ ศ.ร.ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแพทยศาสตรศึกษา

แมลง

แมลง (Insect) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา จำแนกออกเป็นไฟลัมต่าง ๆ ได้ 13 กลุ่ม มีลักษณะสำคัญคือมีลำตัวเป็นปล้องคล้อง ซึ่งอาจแบ่งเป็น 2 หรือ 3 ส่วน สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ลำตัวทั้งสองด้านซ้ายขวามีความเหมือนและมีขนาดเท่ากัน มีเปลือกห่อหุ้มลำตัวด้วยสารไคติน (Chitinous Exoskeleton) ไม่มีขน หายใจแบบใช้เหงือกหรือใช้รูหายใจ มีวัฎจักรวงจรชีวิตในการเจริญเติบโตแบบไข่ มีการลอกคราบเป็นบางครั้งแล้วสร้างผนังหรือเปลือกห่อหุ้มลำตัวใหม่ มีรยางค์เป็นคู่และเป็นปล้อง ส่วนใหญ่นักกีฏวิทยามักใช้รยางค์ในการแบ่งเพศผู้เพศเมียของแมลง มีอวัยวะภายในที่มีท่อทางเดินอาหารเป็นท่อยาวตลอดจากปากไปถึงทวารหนัก ระบบเลือดเป็นแบบเปิดและมีท่อเลือดอยู่ทางด้านสันหลังเหนือระบบทางเดินอาหาร มีระบบประสาทที่ประกอบไปด้วยสมองอยู่เหนือท่ออาหาร มีเส้นประสาทขนาดใหญ่หนึ่งคู่เชื่อมต่อจากสมอง มีการรวมตัวเป็นระยะก่อเกิดเป็นปมประสาท เส้นประสาทขนาดใหญ่ของแมลง จะอยู่ทางด้านล่างของลำตัวใต้ท่ออาหาร มีกล้ามเนื้อแบบเรียบอยู่ตามลำตัวบทปฏิบัติการกีฎวิทยาเบื้องต้น, ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแมลง

แยกศาลาแดง

แยกศาลาแดง (Sala Daeng Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนพระรามที่ 4 ถนนราชดำริและถนนสีลม ในเขตปทุมวันและเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ที่มาของชื่อ "ศาลาแดง" มาจากในอดีตพื้นที่แถบนี้มีสภาพเป็นทุ่งนา และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ต่อมาในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแยกศาลาแดง

แยกสามย่าน

แยกสามย่าน (Sam Yan Intersection) เป็นสี่แยกในเขตปทุมวันและเขตบางรัก เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 4 ถนนพญาไทและถนนสี่พร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแยกสามย่าน

แยกอังรีดูนังต์

ี่แยกอังรีดูนังต์ (Henri Dunant Intersection) หรือรู้จักกันในนาม สี่แยกเสาวภา และ สี่แยกจุฬาฯ เป็นสี่แยกในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 4 ถนนอังรีดูนังต์และถนนสุรวง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแยกอังรีดูนังต์

แยกปทุมวัน

แยกปทุมวัน (Pathum Wan Intersection) เป็นสี่แยกในพื้นที่แขวงวังใหม่และแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแยกปทุมวัน

แยกเฉลิมเผ่า

แยกเฉลิมเผ่า (Chaloem Phao Junction) เป็นทางแยกหนึ่ง ในพื้นที่แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นสามแยกที่เป็นทางตัดกันระหว่างถนนพระราม 1 กับถนนอังรีดูนังต์ โดยชื่อ "เฉลิมเผ่า" มาจากชื่อของสะพานเฉลิมเผ่า 52 ซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 สะพานชุดเฉลิม ที่สร้างขึ้นในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบในแต่ละปี โดยสะพานเฉลิมเผ่านั้นสร้างขึ้นเพื่อข้ามคลองอรชร อันเป็นคลองที่อยู่ระหว่างคลองบางกะปิจนถึงคลองหัวลำโพง เป็นสะพานที่สร้างขึ้นใหม่แทนสะพานไม้ที่เก่าและชำรุดไป เปิดใช้เมื่อปลายปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแยกเฉลิมเผ่า

แอลเลอร์ เอลลิส

ตราจารย์อุปการคุณ นายแพทย์ แอลเลอร์ กัสติน เอลลิส (Aller Gustin Ellis; A.G. Ellis) (พ.ศ. 2411 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) เป็นแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน รับราชการในไทยในสัญญากับรัฐบาลไทยผ่านมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์โดยเป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นคนที่สามในช่วงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอลเลอร์ เอลลิส

แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)

ซัมซุง กาแลคซี โน้ต แอนดรอยด์ (Android) เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานอยู่บนลินุกซ์ ในอดีตถูกออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้จอสัมผัส เช่นสมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้แพร่ไปยังอุปกรณ์หลายชนิดเพราะเป็นมาตรฐานเปิด เช่น Nikon S800C กล้องดิจิตอลระบบแอนดรอยด์ หม้อหุงข้าว Panasonic ระบบแอนดรอยด์ และ Smart TV ระบบแอนดรอยด์ รวมถึงกล่องเสียบต่อ TV ทำให้สามารถใช้ระบบแอนดรอยด์ได้ด้วย Android Wear นาฬิกาข้อมือระบบแอนดรอด์ เป็นต้น ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซึ่งต่อมา กูเกิล ได้ทำการซื้อต่อบริษัทในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)

แถบ นีละนิธิ

ตราจารย์อุปการคุณ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 - 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแถบ นีละนิธิ

แซกโซโฟน

รอบครัวแซกโซโฟน (เรียงลำดับใหญ่-เล็ก) คอนทร่าเบสแซกฯ, เบสแซกฯ, บาริโทนแซกฯ, เทนเนอร์แซกฯ, C เทนเนอร์แซก, อัลโต้แซกฯ, F อัลโต้แซก, โซปราโน่แซกฯ, C โซปราโน่แซกฯ และโซปรานิโน่แซกฯ อัลโต้ แซกโซโฟน (ยามาฮ่า รุ่น YAS-275 MK1) แซกโซโฟน (saxophone) เป็นเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องลมไม้ ใช้ลิ้นเดี่ยวเหมือนของคลาริเนต แม้ว่าตัวเครื่องมักจะทำด้วยโลหะแต่สุ้มเสียงก็กระเดียดมาทางเครื่องลมไม้ แซกโซโฟนจึงได้รับฉายาว่า "คลาริเนตทองเหลือง" (brass clarinet) โดยมากจะใช้ในวงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง จนถึงวงออเคสตรา และแตรวง แบร์ลิออซได้กล่าวว่าเสียงของแซกโซโฟนคือการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่าง ซอเชลโล ปี่คอร์อังแกลส์และปี่คลาริเนท แซกโซโฟนจะเล่นกระซิบกระซาบ อ่อนหวานนุ่มนวล หรือจะแผดให้แสบโสตประสาทก็ทำได้ จึงเหมาะสำหรับใช้เป็นเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการแสดงอย่างมาก CR:"NiCEkUNG.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแซกโซโฟน

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแปลก พิบูลสงคราม

โพรโทซัว

รโทซัว (protozoa) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดเล็กที่จัดได้ว่ามีความสำคัญมากในระบบนิเวศ สามารถอาศัยอยู่ได้ทั้งน้ำจืด และน้ำเค็ม รวมทั้งบริเวณที่ชื้นแฉะ ยังพบว่าอาศัยอยู่ในร่างกายของสัตว์บกอีกหลายชนิด มีทั้งที่เป็นโทษและมีประโยชน์ โพรโทซัวนั้นมีทั้งที่สามารถสร้างอาหารได้เอง เช่น พวกที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ซึ่งมักจะสีเขียวของคลอโรฟิลล์ และพวกไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ การเพิ่มขึ้นของโพรโทซัวอย่างรวดเร็วหรือการบลูมขึ้นมา จะทำให้เกิดปรากฏการณ์ red tide ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำบริเวณนั้น ความเป็นพิษเกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม และถูกขับออกมาละลายอยู่ในน้ำ โดยพิษจะมีผลให้สัตว์น้ำเป็นอัมพาต.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโพรโทซัว

โรคติดเชื้อ

รคติดเชื้อ (Infectious disease) เป็นโรคซึ่งเป็นผลจากการมีเชื้อจุลชีพก่อโรค อาทิไวรัส แบคทีเรีย รา โพรโทซัว ปรสิต หรือแม้กระทั่งโปรตีนที่ผิดปกติเช่นพรีออน เชื้อดังกล่าวอาจก่อให้เกิดโรคในสัตว์หรือพืชได้ โรคติดเชื้อจัดเป็นโรคติดต่อ (Contagious diseases, Communicable diseases) เนื่องจากสามารถติดต่อไปยังบุคคลอื่นหรือระหว่างสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์เดียวกัน การติดต่อของโรคติดเชื้ออาจเกิดได้มากกว่า 1 ทาง รวมถึงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง จุลชีพก่อโรคอาจถ่ายทอดไปโดยสารน้ำในร่างกาย อาหาร น้ำดื่ม วัตถุที่มีเชื้อปนเปื้อน ลมหายใจ หรือผ่านพาหะ"Infectious disease." McGraw-Hill Encyclopedia of Science and Technology.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรคติดเชื้อ

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีประวัติการก่อตั้งโรงเรียนสืบเนื่องมาจาก "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดแผนกวิชาครุศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกหัดครู ชั้นประโยคครูมัธยม ครั้นต่อมาโรงเรียนมัธยมหอวังฯ ได้เปลี่ยนรูปงานเป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกวิชาครุศาสตร์จึงไม่มีโรงเรียนสำหรับฝึกหัดครูเป็นระยะเวลานานประมาณ 15 ปี เมื่อแผนกวิชาครุศาสตร์ขยายงานเป็น คณะครุศาสตร์ โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นคณบดีคนแรก ท่านได้เล็งเห็นความจำเป็นในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อการฝึกหัดครูขั้นปริญญาขึ้นแทนโรงเรียนมัธยมหอวังฯ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นโดยให้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ไวรัส

วรัส เป็นศัพท์จากภาษาลาตินแปลว่า พิษ ในตำราชีววิทยาเก่าของไทยอาจเรียกว่า วิสา อันเป็นการทับศัพท์ในยุคแรกจากภาษาสันสกฤตที่แปลว่า พิษ เช่นเดียวกัน ปัจจุบันคำว่า ไวรัส หมายถึงจุลินทรีย์ที่สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents) ทั้งในมนุษย์, สัตว์, พืช และ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เป็นสิ่งมีชีวิตมีเซลล์ (cellular life) ทำให้เกิดโรคที่ส่งผลกระทบกว้างขวาง จึงมีความสำคัญที่จะต้องศึกษาทั้งในทางการแพทย์และทางเศรษฐกิจ ไวรัสเป็นปรสิตอยู่ในร่างของสิ่งมีชีวิตอื่น (obligate intracellular parasite) ไม่สามารถเติบโตหรือแพร่พันธุ์นอกเซลล์อื่นได้ ไวรัสอาจถือได้ว่าเป็นจุลินทรีย์ที่มีลักษณะของการเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงประการเดียวคือสามารถแพร่พันธุ์ หรือการถ่ายทอดสารพันธุกรรมของตนเองจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง อย่างไรก็ตามไวรัสไม่ใช่จุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ยังมีจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กกว่าไวรัสคือ ไวรอยด์ (viroid) และ พรีออน (prion) ไวรัสชนิดแรกที่ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่าง(TMV หรือ Tobacco Mosaic Virus) ซึ่งค้นพบโดยมาร์ตินัส ไบเยอรินิค ใน ค.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไวรัส

ไอโอเอส

อโอเอส (ก่อนหน้านี้ใช้ชื่อ ไอโฟนโอเอส) คือระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา (สมาร์ตโฟน,แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์) พัฒนาและจำหน่ายโดยแอปเปิล (บริษัท) เปิดตัวครั้งแรกในปี 2007 เพื่อใช้บนไอโฟน และได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อใช้บนอุปกรณ์พกพาอื่นๆ ของแอปเปิล เช่น ไอพอดทัช (ในเดือนกันยายน 2007), ไอแพด (ในเดือนมกราคม 2010), ไอแพด มินิ (พฤศจิกายน 2012) และ แอปเปิลทีวี รุ่นที่ 2 (ในเดือนกันยายน 2010) ไอโอเอสแตกต่างจากวินโดวส์โฟนของไมโครซอฟท์และแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)ของกูเกิล ตรงที่แอปเปิลไม่อนุญาตให้นำไอโอเอสไปติดตั้งบนอุปกรณ์ที่ไม่ใช่อุปกรณ์ของแอปเปิล ในเดือนสิงหาคม 2013 แอปสโตร์ของแอปเปิลมีแอปพลิเคชันมากกว่า 900,000 แอปพลิเคชัน และ 375,000 ที่ออกแบบมาเพื่อ ไอแพด แอปพลิเคชันเหล่านี้มียอดดาวโหลดน์รวมกันมากกว่า 5 หมื่นล้านครั้ง ไอโอเอสมีส่วนแบ่ง 21% ของส่วนแบ่งระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาในไตรมาสที่ 4 ของปี 2012 ซึ่งเป็นรองจากแอนดรอยของกูเกิลเท่านั้น ในเดือนมิถุนายน 2012 ไอโอเอสมีส่วนแบ่งคิดเป็น 65% ของการบริโภคข้อมูลบนอุปกรณ์พกพา (ซึ่งรวม ไอพอดทัช และ ไอแพด) ในกลางปี 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอสมากกว่า 410 ล้านเครื่องที่เปิดใช้งาน จากการอ้างอิงจากงานแถลงเปิดตัวต่อสื่อโดยแอปเปิลใน วันที่ 12 กันยายน 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอส 400 ล้านตัวที่จำหน่ายไปแล้วในเดือนมิถุนายน 2012 ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ของไอโอเอสมีพื้นฐานแนวคิดมาจาก "การควบคุมโดยตรง" (direct manipulation) ด้วยการใช้มัลติทัช องค์ประกอบของการควบคุมก็คือการใช้นิ้วเลื่อน, สวิทช์ และปุ่ม เพื่อเป็นการควบคุมอุปกรณ์รวมถึงท่าทางอย่างอื่น เช่น การนำนิ้วมือ (มากกว่าสองนิ้ว) บีบเข้าหาศูนย์กลาง (swipe), แตะเบาๆ (tap), การนำนิ้วสองนิ้วบีบเขาหาศูนย์กลาง (pinch), การนำนิ้วสองนิ้วกางออกจากศูนย์กลาง (reverse pinch) ซึ่งทั้งหมดนี้มีความหมายที่เจาะจงในบริบทต่างๆ ของไอโอเอสและถือเป็นการใช้งานแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบมัลติทัช ภายในอุปกรณ์ที่ติดตั้งไอโอเอสจะมีเซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อใช้กับบางแอปพลิเคชันเพื่อตอบสนองการสั่นของอุปกรณ์ หรือการหมุนอุปกรณ์ที่คำนวณในรูปแบบสามมิติ ไอโอเอสมีต้นกำเนิดมาจากแมคโอเอสเท็นซึ่งได้รากฐานมาจากดาร์วินและแอปพลิเคชันเฟรมเวริค์ต่างๆ ไอโอเอสคือรุ่นพกพาของแมคโอเอสเท็นที่ใช้บนคอมพิวเตอร์ของแอปเปิล รุ่นหลักของไอโอเอสจะมีการเปิดตัวทุกๆ ปี จนถึงปัจจุบันนี้ ได้มีการปล่อยตัว iOS 10 ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดในวันที่ 13 มิถุนายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไอโอเอส

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เกษม สุวรรณกุล

ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกษม สุวรรณกุล

เภสัชกร

ัชกร (pharmacist) คือผู้ที่มีวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข (health profession) มีหน้าที่จ่ายยา ให้ผู้ป่วย แนะนำการใช้ยา ติดตามการใช้ยาให้ผู้ป่วย และเป็นผู้ผลิตยา เภสัชกรจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหลายสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นทางด้านคลินิก โรงพยาบาล และเภสัชชุมชนซึ่งจะต้องเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ทางเลือกหนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรคือการปฏิบัติงานในร้านขายยาซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของร้านเอง (small business) ในงานด้านนี้เภสัชกรนอกจากจะมีความชำนาญในธุรกิจร้านค้าแล้วยังมีความรู้และข้อมูลการใช้ยาทั้งประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา ตลอดจนการให้ข้อมูลความรู้ให้คำปรึกษาการใช้ยาแก่ชุมชนด้วย เภสัชกรบางครั้งเรียกว่านักเคมี เพราะในอดีตมีการให้ผู้สำเร็จการศึกษาในวิชาเคมีสาขาเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemistry: PhC) มาเป็นเภสัชกรซึ่งเรียกกันว่านักเคมีเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemists) โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ เช่น เครือข่ายร้านขายยาของบู๊ตส์เรียกเภสัชกรของบู๊ตส์ว่า "นักเคมีบูตส์" (Boots The Chemist).

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเภสัชกร

เภสัชกรรม

ัชกรรม (Pharmacy) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเภสัชกรรม

เรือนภะรตราชา

รือนภะรตราชา (พะ-รด-ราชา) เป็นที่อาศัยเก่าและอาคารเรียนเก่า ตั้งอยู่ที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝั่งสำนักงานอธิการบดี) ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่นจากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเรือนภะรตราชา

เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรม 3 หรือ เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือที่เรียกกันสั้นๆในชื่อ เรือนไทยจุฬาฯ เป็นชุดเรือนไทยหมู่จำนวน 5 หลัง ออกแบบโดย เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมไทย) และ ร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) เริ่มก่อสร้างขึ้นในปี..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เว็บไซต์

หน้าหนึ่งในเว็บไซต์วิกิพีเดีย เว็บไซต์ (website, web site หรือ site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์แห่งแรกของโลกถูกสร้างขึ้นเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเว็บไซต์

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเศรษฐศาสตร์

เสรีไทย

รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเสรีไทย

เอกอัครราชทูต

เอกอัครราชทูต (ambassador) เป็นนักการทูตตำแหน่งสูงสุด ซึ่งจัดการแทนประเทศหนึ่ง ๆ และปรกติมักได้รับการส่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ไปยังรัฐบาลต่างด้าว หรือไปยังองค์การระหว่างประเทศ ในความหมายธรรมดา คำ "ทูต" (ambassador) หมายถึง บุคคลซึ่งรัฐบาลประเทศหนึ่งส่งไปประจำอีกประเทศหนึ่งเพื่อให้จัดการแทนตน และไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีตำแหน่งใด โดยรัฐผู้รับ (host state) จะให้ทูตมีเขตอำนาจอยู่ใน สถานทูต (embassy) ซึ่งตั้งอยู่ในดินแดนของรัฐผู้รับ และรัฐผู้รับจะให้ความคุ้มกัน (immunity) แก่พัทธสีมา ที่ดิน ทรัพย์สิน บุคคล ฯลฯ ของสถานทูต บางประเทศอาจแต่งตั้งบุคคลผู้เป็นที่เลื่อมใสกว้างขวางให้เป็นเอกอัครราชทูตประจำกระทรวง (ambassador-at-large) เพื่อให้จัดการเพียงบางอย่างโดยเฉพาะ หรือรับผิดชอบท้องที่อันจำกัด ขณะที่เอกอัครราชทูตมักมีอำนาจจัดการทั่วไป สำหรับประเทศในเครือจักรภพ มักเรียกเอกอัครราชทูตว่า ข้าหลวงใหญ่ (high commissioner) และคณะผู้แทนทางทูตจะเรียก คณะข้าหลวงใหญ่ (high commission) แทน ส่วนเอกอัครราชทูตของอาณาจักรอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy See) นั้นเรียก เอกอัครสมณทูต (nuncio) หมวดหมู่:นักการทูต.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอกอัครราชทูต

เอ็มบีเคเซ็นเตอร์

อ็มบีเค เซ็นเตอร์ (MBK Center) หรือชื่อเดิมว่า มาบุญครองเซ็นเตอร์ เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ดำเนินงานโดยบริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน) ภายในอาคารขนาด 8 ชั้น ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 89,000 ตารางเมตร ซึ่งส่วนหนึ่งจัดเป็นพื้นที่เช่าค้าขาย จำนวนกว่า 2,500 ร้านค้า ศูนย์อาหารบนห้างมาบุญครองบนชั้นที่6 จัดว่าเป็นศูนย์อาหารต้นแบบที่ห้างอื่นๆตลอดจนโมเดิร์นเทรดยุคใหม่ยึดถือปฏิบัติตาม กล่าวคือลูกค้าต้องซื้อคูปองชนิดราคาต่างๆกับจนท.ของห้างในซุ้ม ก่อนที่จะนำคูปองนั้นไปแลกซื้ออาหารในศูนย์อีกครั้งหนึ่ง จนมีการพัฒนาเป็นการ์ดเติมเงินในปัจจุบัน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์

เอ็น

อ็น หรือ เอ็นยึด (ligament) เป็นคำกว้างๆ หมายถึง กลุ่มหรือมัดเส้นใยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่งเรียงตัวในทิศทางเดียว เห็นได้ชัดและไม่มีกล้ามเนื้อยึดที่ปลาย ทั้งนี้เอ็นมีความหมายถึงโครงสร้างได้ 3 ชนิด โดยทั่วไปเอ็นหมายถึงเนื้อเยื่อเส้นใยที่ยึดระหว่างกระดูก เรียกว่า "เอ็นข้อต่อ" (articular ligament, articular larua) "เอ็นเส้นใย" (fibrous ligaments) หรือ "เอ็นแท้" (true ligaments) นอกจากนี้ เอ็น อาจหมายถึง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอ็น

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เทียนฉาย กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ เทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ รองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนเกษียณอายุราชการดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเทียนฉาย กีระนันทน์

เทคโนโลยี

นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเทคโนโลยี

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเขตพระนคร

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเขตปทุมวัน

เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน

อาคารจามจุรี 10 สำนักงานใหญ่เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network; AUN) เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อพฤศจิกายน ค.ศ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

รื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกังหันไอน้ำที่ทันสมัยของสหรัฐฯ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรือ เครื่องปั่นไฟ (electric generator) คืออุปกรณ์ที่แปลงพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์ดังกล่าวจะบังคับกระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านวงจรภายนอก แหล่งที่มาของพลังงานกลอาจจะเป็นลูกสูบหรือเครื่องยนต์กังหันไอน้ำ หรือแรงน้ำตกผ่านกังหันน้ำหรือล้อน้ำ หรือเครื่องยนต์สันดาปภายใน หรือกังหันลม หรือข้อเหวี่ยงมือ หรืออากาศอัด หรือแหล่งพลังงานกลอื่นๆ โดยเครื่องกำเนิดไฟฟ้านั้นจะเป็นวิธีหลักที่ใช้ในการกำเนิดไฟฟ้าเพื่อจ่ายเข้าโครงข่ายพลังงานไฟฟ้าของประเทศ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าของ Ganz รุ่นแรกๆใน Zwevegem, West Flanders, Belgium การแปลงย้อนกลับของพลังงานไฟฟ้ากลับไปเป็นพลังงานกลจะกระทำโดยมอเตอร์ไฟฟ้า มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่มีความคล้ายคลึงกันมาก มอเตอร์หลายตัวสามารถขับเคลื่อนเครื่องจักรเพื่อผลิตไฟฟ้าและบ่อยครั้งที่ได้รับการยอมรับให้เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า alternator ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในห้องโถงของสถานีผลิตไฟฟ้ากำลังน้ำ ทำในบูดาเปสท์ประเทศฮังการี.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

เติมศักดิ์ กฤษณามระ

ตราจารย์กิตติคุณ เติมศักดิ์ กฤษณามระ ผู้อำนวยการสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานราชินีมูลน.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเติมศักดิ์ กฤษณามระ

เนื้อไม้

หน้าตัดของต้นไม้ ส่วนหมายเลข 3 คือ เนื้อไม้ (ไซเลม) เนื้อไม้ หรือ ไซเลม (xylem) เป็นเนื้อเยื่อของพืชที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่าง ๆ ไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่หลักในการลำเลียงน้ำ.

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนื้อไม้

เนเจอร์ (วารสาร)

วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนเจอร์ (วารสาร)

ดูเพิ่มเติม

การศึกษาในกรุงเทพมหานคร

สถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร

เขตปทุมวัน

เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Chulalongkorn Universityสภานิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยจุฬาฯโรงเรียนมหาดเล็กโรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือนโรงเรียนข้าราชการพลเรือนโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

การแปรอักษรกิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทยกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยก้ามปูภาษาบาลีภาษาอังกฤษภาษาไทยภิรมย์ กมลรัตนกุลมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยอินโดนีเซียมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวายมหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทงมหาจุฬาลงกรณ์มหาดเล็กมหานคร (ตึกระฟ้า)มะเร็งมิชชันนารีมิสยูลีกมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์มูลนิธิอานันทมหิดลมนุษยศาสตร์ยง ภู่วรวรรณรักบี้รัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญราชวงศ์จักรีรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รางวัลรามอน แมกไซไซรางวัลซีไรต์รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยรถยนต์รถโดยสารประจำทางรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลวัดวัดราชาธิวาสราชวรวิหารวัดปทุมวนารามราชวรวิหารวังวินด์เซอร์วังไกลกังวลวันภาษาไทยแห่งชาติวันลอยกระทงวันทรงดนตรีวันปิยมหาราชวิสัญญีแพทย์วิทยาลัยพยาบาลตำรวจวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพวิทยานิพนธ์วิทิต มันตาภรณ์ศัลยศาสตร์ศาลาพระเกี้ยวศาสตราจารย์ศิลปินศิลปินแห่งชาติศูนย์การค้าศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสภากาชาดไทยสภาสถาปนิกไทยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557สมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์สมุนไพรสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสยามพารากอนสยามสแควร์สยามสแควร์วันสยามดิสคัฟเวอรีสยามเซ็นเตอร์สวนลุมพินีสวนสาธารณะสหประชาชาติสังคมศาสตร์สัตวแพทย์สัตว์มีกระดูกสันหลังสาธารณสุขสำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสำนักงานตำรวจแห่งชาติสิทธิบัตรสิทธิมนุษยชนสุชาดา กีระนันทน์สุพจน์ หารหนองบัวสุขภาพสีชมพูสีดำสีแดงสีเหลืองสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทยสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาปัตยกรรมไทยสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถานีศาลาแดงสถานีสยามสถานีสามย่านสถานีสีลมสถานีสนามกีฬาแห่งชาติสนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสนามกีฬาแห่งชาติสโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ดหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุลหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครหอศิลป์หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยห้องเชียร์อรุณ สรเทศน์อาคารอนุรักษ์อำเภอแก่งคอยอำเภอแม่ริมอำเภอเกาะสีชังอินเทอร์เน็ตอุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอุดมศึกษาอธิการบดีองค์การอนามัยโลกองค์การนักศึกษาอนุสรณ์สถานผาสุก พงษ์ไพจิตรผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยจรัส สุวรรณเวลาจักรยานจังหวัดชลบุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดน่านจังหวัดเชียงใหม่จัตุรัสจามจุรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาฯวิชาการธัชชัย สุมิตรธนาคารไทยพาณิชย์ถนอม กิตติขจรถนนบรรทัดทองถนนพญาไทถนนพระรามที่ 1ถนนพระรามที่ 4ถนนสาทรถนนอังรีดูนังต์ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ทวารวดีทวีปยุโรปทัศนศิลป์ทัณฑฆาตดิจิทัลครุยครุยและเข็มวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคอกโครัลลีไซมอนส์คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทยคณะลูกเสือแห่งชาติคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะองคมนตรีไทยคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะนักบวชคาทอลิกคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ต้นพระศรีมหาโพธิ์ซากดึกดำบรรพ์ปฏิทินสุริยคติไทยปรสิตประภาส จารุเสถียรประมวล วีรุตมเสนประยุทธ์ จันทร์โอชาประวัติศาสตร์ประสาร ไตรรัตน์วรกุลประเพณีประเทศลาวประเทศอังกฤษประเทศอินโดนีเซียประเทศจีนประเทศไทยประเทศเวียดนามประเทศเนเธอร์แลนด์นวัตกรรมนักวิจัยดีเด่นแห่งชาตินักวิทยาศาสตร์นักดนตรีนักแสดงนักเรียนนันทนาการนายกรัฐมนตรีนายกรัฐมนตรีไทยนิทรรศการแพทยศาสตรศึกษาแมลงแยกศาลาแดงแยกสามย่านแยกอังรีดูนังต์แยกปทุมวันแยกเฉลิมเผ่าแอลเลอร์ เอลลิสแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)แถบ นีละนิธิแซกโซโฟนแปลก พิบูลสงครามโพรโทซัวโรคติดเชื้อโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาไวรัสไอโอเอสเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเกษม สุวรรณกุลเภสัชกรเภสัชกรรมเรือนภะรตราชาเรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเว็บไซต์เศรษฐศาสตร์เสรีไทยเอกอัครราชทูตเอ็มบีเคเซ็นเตอร์เอ็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เทียนฉาย กีระนันทน์เทคโนโลยีเขตพระนครเขตปทุมวันเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเติมศักดิ์ กฤษณามระเนื้อไม้เนเจอร์ (วารสาร)