เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จุนสีและด่างทับทิม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จุนสีและด่างทับทิม

จุนสี vs. ด่างทับทิม

นสี หรือ คอปเปอร์(II)ซัลเฟต (Copper (II) sulphate) เป็นสารประกอบของทองแดง กำมะถันและออกซิเจน ที่มีสูตรทางเคมี CuSO4 เกลือจุนสีพบได้หลายรูปแบบตามจำนวนโมเลกุลน้ำที่ประกอบอยู่ในผลึก จุนสีสะตุหรือจุนสีที่ปราศจากน้ำ (anhydrous) เป็นผงสีเทาขาว ขณะที่จุนสีที่พบได้บ่อยมีน้ำ 5 โมเลกุล (pentahydrate) มีสีฟ้าสด สารเคมีนี้ใช้ประโยชน์เป็นสารปราบวัชพืช สารกำจัดสัตว์และแมลงรบกวน สารฆ่าเชื้อรา ในตำรายาบางครั้งเรียกจุนสีว่ากำมะถันเขียว แต่เดิมผลิตจากน้ำฉีดแร่ในเหมืองทองแดง นำมาต้มให้น้ำระเหย ใช้เป็นยาถอนพิษ กัดหูดและคุดทะราด ในภาษาไทยโบราณจะเรียกสีของจุนสีว่าสีเขียว. ด่างทับทิม มีชื่อทางเคมีว่า โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) มีลักษณะเป็นผลึกสีม่วง ใช้ในการแช่ผักหรือผลไม้เพื่อชะล้างสารเคมี เป็นสารประกอบประเภทเกลือ มีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆ หมวดหมู่:ตัวออกซิไดซ์ หมวดหมู่:สารประกอบโพแทสเซียม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จุนสีและด่างทับทิม

จุนสีและด่างทับทิม มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จุนสีและด่างทับทิม

จุนสี มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ด่างทับทิม มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 2)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จุนสีและด่างทับทิม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: