โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ

จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ) vs. อภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ

กราฟซึ่งมี 6 จุดยอดและ 7 เส้นเชื่อม และจุดยอดหมายเลข 6 เป็นจุดยอดปลาย ในทฤษฎีกราฟ จุดยอด หรือ โหนด เป็นส่วนประกอบอย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดกราฟ กราฟไม่ระบุทิศทางประกอบด้วยเซตของจุดยอดและเซตของเส้นเชื่อม (คู่ไม่อันดับของจุดยอด) ในขณะที่กราฟระบุทิศทางประกอบด้วยเซตของจุดยอดและเซตของเส้นเชื่อมที่มีทิศทาง (คู่อันดับของจุดยอด) จุดยอด w เรียกว่าอยู่ ประชิด (adjacent) กับจุดยอด v โดยที่ v ไม่ใช่ w ก็ต่อเมื่อกราฟนั้นมีเส้นเชื่อม (v,w) และเพื่อนบ้านของจุดยอด v คือจุดยอดทั้งหมดที่ประชิดกับ v. ทฤษฎีกราฟเติบโตอย่างรวดเร็วในวงการวิจัยด้านคณิตศาสตร์ และมีคำศัพท์เฉพาะทางอยู่หลายคำ บทความนี้จะรวบรวมคำและความหมายของศัพท์ในทฤษฎีกราฟ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ

จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กราฟ (คณิตศาสตร์)ระดับขั้นทฤษฎีกราฟคู่อันดับคู่ไม่อันดับ

กราฟ (คณิตศาสตร์)

วาดของกราฟระบุชื่อที่มีจุดยอด 6 จุด และเส้นเชื่อม 7 เส้น ในคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ กราฟ (Graph) ประกอบไปด้วยเซตของวัตถุที่เรียกว่าจุดยอด (vertex) ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยเส้นเชื่อม (edge) โดยทั่วไปแล้วเรามักวาดรูปแสดงกราฟโดยใช้จุด (แทนจุดยอด) เชื่อมกันด้วยเส้น (แทนเส้นเชื่อม) กราฟเป็นวัตถุพื้นฐานของการศึกษาในวิยุตคณิต หัวข้อทฤษฎีกราฟ เส้นเชื่อมอาจมีทิศทางหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สมมุติให้จุดยอดแทนคนและเส้นเชื่อมแทนการจับมือกัน เส้นเชื่อมก็จะเป็นเส้นเชื่อมไม่มีทิศ เพราะการที่ A จับมือ B ก็แปลว่า B จับมือ A อย่างไรก็ตาม สมมุติถ้าจุดยอดแทนคนและเส้นเชื่อมแทนการรู้จัก เส้นเชื่อมก็ต้องเป็นเส้นเชื่อมมีทิศทาง เพราะ A รู้จัก B ไม่จำเป็นว่า B ต้องรู้จัก A หรือนั่นก็คือความสัมพันธ์การรู้จักไม่เป็นความสัมพันธ์สมมาตร จุดยอดอาจจะถูกเรียกว่าโหนด ปม หรือจุด ในขณะที่เส้นเชื่อมอาจถูกเรียกว่าเส้น คำว่า "กราฟ" ถูกใช้ครั้งแรกโดย J.J. Sylvester ในปี..

กราฟ (คณิตศาสตร์)และจุดยอด (ทฤษฎีกราฟ) · กราฟ (คณิตศาสตร์)และอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ · ดูเพิ่มเติม »

ระดับขั้น

ในคณิตศาสตร์สาขาทฤษฎีกราฟ ระดับขั้น (degree) ของ จุดยอด v ใน กราฟ เป็นจำนวนของ เส้นเชื่อม ซึ่งต่อกับจุดยอด v (สำหรับเส้นเชื่อมที่เป็นห่วง ให้นับ 2 ครั้ง) ดีกรีของจุดยอด v เขียนแทนในทางคณิตศาสตร์ว่า \deg(v).

จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และระดับขั้น · ระดับขั้นและอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีกราฟ

กราฟที่มีจุดยอด 6 จุด และเส้นเชื่อม 7 เส้น ทฤษฎีกราฟ (graph theory) เป็นหนึ่งในสาขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ศึกษาถึงคุณสมบัติต่าง ๆ ของกราฟ.

จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และทฤษฎีกราฟ · ทฤษฎีกราฟและอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ · ดูเพิ่มเติม »

คู่อันดับ

ในคณิตศาสตร์ คู่อันดับ (a, b) เป็นคู่ของวัตถุทางคณิตศาสตร์ โดย a เรียกว่า สมาชิกตัวหน้า และ b เรียกว่า สมาชิกตัวหลัง คู่อันดับอาจจะมองเป็นพิกัดก็ได้ สำหรับคู่อันดับนั้น อันดับมีความสำคัญ นั่นคือคู่อันดับ (a, b) แตกต่างจากคู่อันดับ (b, a) ยกเว้นกรณีที่ a.

คู่อันดับและจุดยอด (ทฤษฎีกราฟ) · คู่อันดับและอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ · ดูเพิ่มเติม »

คู่ไม่อันดับ

ในคณิตศาสตร์ คู่ไม่อันดับ เป็นเซตในรูปของ นั่นก็คือเซตที่มีสมาชิก 2 ตัวคือ a และ b โดยที่สมาชิกทั้งสองไม่มีลำดับมาก่อนหลัง ทำให้.

คู่ไม่อันดับและจุดยอด (ทฤษฎีกราฟ) · คู่ไม่อันดับและอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ

จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ) มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ อภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 19.23% = 5 / (6 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จุดยอด (ทฤษฎีกราฟ)และอภิธานศัพท์ทฤษฎีกราฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »