โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จีระ บุญมากและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จีระ บุญมากและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

จีระ บุญมาก vs. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ร่างของจีระ บุญมาก ถูกห่มคลุมด้วยธงชาติ และแห่จากกรมประชาสัมพันธ์ไปที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และขึ้นรถข้ามไปที่ฝั่งธนบุรี จีระ บุญมาก เป็นนักศึกษาปริญญาโทสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่ถูกยิงเสียชีวิตบริเวณหน้ากรมประชาสัมพันธ์ ในเหตุการณ์ 14 ตุลา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เวลาประมาณ 12.00 น. เป็นศพแรก จีระ บุญมาก จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สมัยนั้นชื่อ วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร) และกำลังเรียนปริญญาโท ในวันเกิดเหตุจีระพาลูกออกไปเดินเล่นซื้อของ เมื่อกลับมาบ้านได้ฟังวิทยุรายงานข่าวว่านักเรียนนักศึกษากำลังจะก่อการจลาจล และบุกเข้ายึดวังสวนจิตรลดา จีระไม่เชื่อว่าข่าววิทยุจะเป็นความจริง จึงออกจากบ้านเพื่อมาดูสถานการณ์ จีระซื้อส้มมาด้วย เมื่อมาถึงก็แจกส้มให้นักเรียนช่างกล บอกว่าทหารเขามาทำตามหน้าที่ ให้ใจเย็น อย่าทำอะไรรุนแรง เดี๋ยวจีระจะเข้าไปพูดคุยกับทหารเอง จีระ บุญมากถือธงชาติเดินเข้าหาทหาร ขอร้องว่าทหารอย่าทำร้ายเด็กนักเรียนที่ไม่มีอาวุธ แล้วหยิบส้มที่เตรียมมา โยนให้ทหารกิน ทหารที่ระวังอยู่เข้าใจว่าจีระจะทำร้าย จึงยิงปืนใส่ เสียชีวิตทันที นักศึกษาที่อยู่บริเวณนั้น นำธงชาติเข้ามาเช็ดเลือดจีระ ห่มร่างด้วยธงชาติ และนำศพขึ้นไปวางบนพานรัฐธรรมนูญที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และแห่ศพข้ามสะพานพระปิ่นเกล้าไปที่สี่แยกบ้านแขก วงเวียนใหญ่ ฝั่งธนบุรี ชื่อของจีระ บุญมาก ถูกตั้งเป็นชื่อห้องประชุมของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จีระ บุญมากและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

จีระ บุญมากและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเหตุการณ์ 14 ตุลา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

จีระ บุญมากและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

จีระ บุญมากและเหตุการณ์ 14 ตุลา · มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒและเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จีระ บุญมากและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

จีระ บุญมาก มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มี 118 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.54% = 2 / (12 + 118)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จีระ บุญมากและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »