โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จินตนิมิตและภาพยนตร์เกินวิสัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จินตนิมิตและภาพยนตร์เกินวิสัย

จินตนิมิต vs. ภาพยนตร์เกินวิสัย

นตนิมิต (fantasy) เป็นงานวรรณศิลป์ประเภทหนึ่งที่มีเค้าโครงหรือเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์และเรื่องเหนือจริง มักมีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในยุคกลางของยุโรป หรือมีลักษณะที่แสดงถึงยุคเดียวกันนั้น เช่นสถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้าง เครื่องแต่งกาย หรือเทคโนโลยี โลกแห่งจินตนิมิตมักยอมรับสภาวะเหนือจริงและเวทมนตร์ต่างๆ เหมือนเป็นเรื่องปกติ ความแตกต่างระหว่างจินตนิมิต กับนิยายวิทยาศาสตร์หรือนิยายสยองขวัญ คือลักษณะของเทคโนโลยีและวิธีการนำเสนอเกี่ยวกับความตาย งานจินตนิมิตประกอบด้วยผลงานประพันธ์ของนักเขียน ศิลปิน นักดนตรี หรือนักสร้างภาพยนตร์มากมาย นับแต่อดีตกาลประหนึ่งปกรณัมหรือตำนานลี้ลับ สืบต่อมาจนถึงปัจจุบันที่เผยแพร่แก่ผู้คนจำนวนมาก. นตร์เกินวิสัย เป็นภาพยนตร์ที่มีผู้ดูอยู่ในกลุ่มผู้ชื่นชอบกลุ่มเล็ก ๆ ส่วนมากหนังจะไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง อย่างไรก็ตาม ยังมีหนังที่โด่งดังจนติดระดับกระแสนิยมได้ เช่น Easy Rider (1969), 2001: A Space Odyssey (1968), A Clockwork Orange (1971), The Rocky Horror Picture Show (1975), Taxi Driver (1976), The Warriors (1979), Blade Runner (1982), Blue Velvet (1986), Pulp Fiction (1994) คำจำกัดความของภาพยนตร์เกินวิสัยนั้นค่อนข้างกว้าง คือ สามารถเป็นหนังประเภทไหนก็ได้ ดีหรือเลวก็ได้ สัญชาติใดก็ได้ หรือทุนต่ำทุนสูงก็ได้ เพียงแต่มีผู้ที่ชื่นชอบคลั่งไคล้อยู่ แต่โดยมากภาพยนตร์ประเภทนี้จะมีภาพในลักษณะสยองขวัญ ทุนต่ำ และคุณภาพโดยรวมต้องจัดอยู่ในขั้นเลว มีหลายเรื่องมีองค์ประกอบดิบเถื่อนและความรุนแรง ทำให้มักจะกีดกันผู้ดูผู้หญิงออก ตัวละครในภาพยนตร์เกินวิสัย ภาพยนตร์สยองขวัญอิตาลีหลายเรื่อง ตอบสนองความปรารถนาทางเพศของผู้ชาย ส่วนภาพยนตร์เกินวิสัยของฝ่ายหญิงจะมีตัวละครชายที่มักไม่มีอยู่จริงในโลก ภาพยนตร์เกินวิสัยมักมีลักษณะบางอย่างซึ่งแปลกประหลาด หลุดโลก การเล่าเรื่องหรือเทคนิคภาพยนตร์ มีลักษณะไม่ธรรมดาที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคย เช่น อาจจะมีตัวละครที่หวือหวาโฉ่งฉ่างอย่างกับการ์ตูน เนื้อเรื่องที่ไม่สนใจความจริง บ่อยครั้งจะได้รับสร้างเสียงวิพากษ์วิจารณ์จนกลายเป็นประเด็นถกเถียง สำหรับหนังไทย หนังเรื่องที่พอจะจัดให้อยู่ในประเภทภาพยนตร์เกินวิสัยได้ ได้แก่ กิ้งก่ากายสิทธิ์ (1985), บ้านผีปอบ (1989-2011) และ ดึกดำดึ๋ย (2003).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จินตนิมิตและภาพยนตร์เกินวิสัย

จินตนิมิตและภาพยนตร์เกินวิสัย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จินตนิมิตและภาพยนตร์เกินวิสัย

จินตนิมิต มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาพยนตร์เกินวิสัย มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (40 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จินตนิมิตและภาพยนตร์เกินวิสัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »